Page 24 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 76 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2566
P. 24
คอลัมน์วิศวกรใช้ภาษา
รองศาสตราจารย์ ดร.วิสุทธิ์ ช่อวิเชียร
อ่านไว ๆ
ท�าไมต้องอ่านไว ๆ 1. Propose
วิศวกรอาศัยการอ่านในการศึกษาหาความรู้ หาข้อมูลประกอบ ก่อนจะอ่านเอกสารใดก็ตาม ขั้นตอนแรก ควรคิดก่อนว่า
การท�างาน รับข้อมูล ข่าวสาร แต่ละวันเราต้องอ่านเป็นจ�านวนมาก - เราต้องการอะไร (จากเอกสารนั้น)
(ยังหาสถิติไม่ได้ว่าวิศวกรไทยต้องอ่านวันละเท่าใด) ดังนั้นหาก ถ้าหากว่า เราต้องการศึกษารายละเอียด เช่นเป็นเอกสาร
เราสามารถเพิ่มประสิทธิภาพในการอ่านได้ ก็จะท�าให้เรามีเวลา วิชาการ มีสูตรค�านวณ มีการอธิบายเงื่อนไขละเอียด ฯลฯ กรณีนี้
เหลือเฟือ ท�าอย่างอื่นที่มีประโยชน์ (ไม่ใช่เหลือเวลาเพื่อไปดู การอ่านไวอาจจะใช้ไม่ได้เลย เพราะเราต้องการศึกษารายละเอียด
TikTok นะจ๊ะ) ไม่ให้ตกหล่น
แต่ถ้าเป็นเอกสารที่มีเนื้อหาใจความส�าคัญ อย่างกลาง ๆ เช่น
วิธีการ จดหมายโต้ตอบ บันทึก กรณีนี้ใช้การอ่านไวได้ในระดับหนึ่ง
มีหลายต�าราที่พูดถึง การอ่านไว (SPEED READING) แต่ที่ หากเป็นเอกสารที่ไม่ต้องการความละเอียด คือ ตกใจความ
ผู้เขียนเคยใช้มาแล้วสามารถสรุปหลักการสั้น ๆ ได้ 3 ขั้นตอน ไปบ้างก็ไม่เดือดร้อน เช่น อ่านข่าวหนังสือพิมพ์ อ่านนิยาย กรณีนี้
ซึ่งได้อักษรย่อภาษาอังกฤษได้ว่า “3P” ใช้การอ่านไวได้เป็นอย่างดี
Purpose ดังนั้น ขั้นตอนแรกต้องพิจารณาก่อนว่า เอกสารมีความ
Preview ส�าคัญ ความจ�าเป็นขนาดไหน เพื่อที่จะไปสู่ขั้นที่ 2
Proceed
2. Preview
ขั้นตอน preview คือเปิดเอสารผ่าน ๆ ทั้งหมดอย่าง
รวดเร็ว เพื่อดูว่า
- ทั้งหมดยาวมากแค่ไหน
- มีหัวข้อ (category) ของบทความหรือไม่ ถ้ามีจะช่วยมาก
- อ่านคร่าว ๆ ตอนต้น ตอนกลาง ตอนจบ เพื่อพอให้ทราบว่า
เกี่ยวข้องอะไรมากมายไหม (ขั้นตอนนี้ประกอบกับขั้นตอน
purpose อาจท�าให้เราตัดสินใจได้ว่าไม่ต้องอ่านต่อ เช่น
พบว่ามีสูตร/ศัพท์ ที่ยากเกินไป อ่านไปก็ไม่มีประโยชน์
จะไม่สามารถเข้าใจได้ ฯลฯ)
24 วิศวกรรมสาร
ปีที่ 76 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2566