Page 122 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2564
P. 122
การใช้เทคโนโลยีด้านการตรวจสอบ ทดสอบ และติดตั้งเครื่องมือวัดในโครงสร้างอาคารและระบบสาธารณูปโภค
เพื่อการประเมิน จัดการ และการวางแผนบำารุงรักษาโครงสร้าง
ภำพที่ 5 ภาพสามมิติของการจัดเรียงตัวของ
เหล็กเสริมคอนกรีตจากการส�ารวจด้วยระบบ
Ground Penetrating Radar
1.2 การตรวจวัดกำาลังวัสดุ เมื่อมีข้อมูลเชิงมิติและราย ส�าหรับก�าลังอัดประลัยของคอนกรีต จะได้จากการทดสอบ
ละเอียดของหน้าตัดของชิ้นส่วนโครงสร้างแล้ว ก�าลังวัสดุก็เป็นข้อมูล แท่งตัวอย่างทรงกระบอกที่เจาะเก็บจากโครงสร้างภายใต้
ที่จ�าเป็นส�าหรับการหาก�าลังของทั้งหน้าตัดเหล็กรูปพรรณ และ แรงอัด ทั้งนี้ วิธีการประเมินก�าลังอัดแบบไม่ท�าลายอื่น ๆ มิได้
คอนกรีตเสริมเหล็ก เป็นที่ยอมรับตามมาตรฐาน โดยได้มีการอธิบายข้อจ�ากัดหรือ
ในส่วนของการหาก�าลังรับแรงดึงของเหล็กเสริมนั้น สามารถตรวจ ปัญหาที่พบจากวิธีประเมินอื่น ๆ ไว้ใน ACI 437R
สอบได้ทั้งวิธีแบบไม่ท�าลายด้วยการตรวจสอบหาค่าความแข็งของเหล็ก
ซึ่งใช้อุปกรณ์หาค่าความแข็งแบบพกพาได้ โดยค่าความแข็งจะมีความ
สัมพันธ์กับก�าลังรับแรงดึง หรือถ้าหากต้องการท�าการตรวจสอบชิ้น
ส่วนตัวอย่างภายใต้แรงดึงจริง จะต้องมีการตัดเก็บตัวอย่างเหล็กเสริม
คอนกรีต หรือเหล็กรูปพรรณมาทดสอบด้วยเครื่อง Universal Testing
Machine ซึ่งข้อพึงระวังในการเก็บตัวอย่างเหล็กคือการตัดด้วยความร้อน
ที่อาจจะท�าให้คุณสมบัติเชิงกลของเหล็กเปลี่ยนไปได้
ภาพที่ 7 แท่งคอนกรีตทรงกระบอกที่เจาะเก็บจากโครงสร้างจริง
พร้อมตัดให้ได้อัตราส่วนชลูดที่ต้องการ และหล่อก�ามะถันปิดปลาย
ทั้งสองด้าน
ภาพที่ 6 เครื่องวัดความแข็งของโลหะแบบพกพา (Portable Hardness Meter)
122
วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2564