Page 121 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2564
P. 121

การใช้เทคโนโลยีด้านการตรวจสอบ ทดสอบ และติดตั้งเครื่องมือวัดในโครงสร้างอาคารและระบบสาธารณูปโภค
                                                                     เพื่อการประเมิน จัดการ และการวางแผนบำารุงรักษาโครงสร้าง
























                                                                                      ภำพที่ 3 รูปด้านจากการตัดจุดเมฆสามมิติ
                                                                                      ของอาคารด้วยระนาบในแนวดิ่ง


              นอกจากนี้ การวัดเชิงมิติของรายละเอียดชิ้นส่วนโครงสร้าง  ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของเหล็กเสริม และระดับความลึกจาก
            เช่น ขนาดหน้าตัดเหล็กรูปพรรณ รายละเอียดเหล็กเสริมในหน้าตัด  พื้นผิวคอนกรีต ทั้งนี้ ระบบการตรวจวัดดังกล่าวอาจจะรายงานผล
            คอนกรีตเสริมเหล็ก ก็มีความจ�าเป็นในการค�านวณหาก�าลังต้านทาน  ที่ผิดพลาดเนื่องจากมีการทาบเหล็ก หรือมีการเรียงตัวของเหล็กที่
            แรงต่าง ๆ โดยการวัดเชิงมิติของหน้าตัดเหล็กรูปพรรณนั้นสามารถ  ค่อนข้างชิดกัน จึงควรใช้งานร่วมกับเครื่องมือหยั่งความลึกด้วย
            ท�าได้โดยใช้เครื่องมือวัดมิติทั่วไปได้ แต่การตรวจหาเหล็กเสริมที่  ระบบเรดาห์ (Ground Penetrating Radar) ซึ่งจะแสดงให้เห็น

            ฝังอยู่ในคอนกรีตนั้น จะต้องใช้เครื่องมือตรวจวัดแบบไม่ท�าลาย  ภาพการวางตัวของเหล็กเสริม (Visualization) ซึ่งจะท�าให้เข้าใจผล
            ซึ่งมีอุปกรณ์อยู่สองประเภทหลัก ๆ ได้แก่ ระบบตรวจหาขนาด  ที่แปลออกมาจาก Rebar Scanner ได้ดียิ่งขึ้น
            เหล็กเสริมและระยะหุ้ม (Rebar Scanner) ที่จะระบุต�าแหน่ง






































                 ภำพที่ 4 ผลที่แสดงจากการตรวจหา
                   ขนาดเหล็กเสริมและระยะหุ้มด้วย
                              Rebar Scanner


                                                                                                             121
                                                                             วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2564
   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126