Page 124 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2564
P. 124

การใช้เทคโนโลยีด้านการตรวจสอบ ทดสอบ และติดตั้งเครื่องมือวัดในโครงสร้างอาคารและระบบสาธารณูปโภค
               เพื่อการประเมิน จัดการ และการวางแผนบำารุงรักษาโครงสร้าง














          3.  การทดสอบโครงสร้างเชิงพลศาสตร์ภายใต้แรงกระทำาแบบสุ่มจากสิ่งแวดล้อม
             (Ambient Vibration Measurement)



          มักจะใช้เพื่อการเฝ้าระวังสภาพโครงสร้าง

          ซึ่งจะอาศัยการตรวจวัดพฤติกรรมในเชิง
          พลศาสตร์ ภายใต้แรงกระท�าที่มีขนาดเล็ก
          ท�าให้เกิดการสั่นสะเทือนแบบสุ่มซึ่งมีค่า
          น้อยมาก แล้วใช้หัววัดค่าความเร่ง หรือ
          ความเร็วซึ่งมีความละเอียดสูงมาก และมี
          สัญญาณรบกวนต�่ามาก ซึ่งลักษณะเฉพาะ

          ทางพลศาสตร์ (Dynamic Characteristic)
          ของโครงสร้าง ซึ่งประกอบไปด้วย ค่าความถี่
          ธรรมชาติ  (Natural  Frequency  or
          Fundamental Frequency) รูปร่างของ
          โหมดการสั่นสะเทือน (Vibration Mode

          Shape) และค่าความหน่วง (Damping
          Ratio) ของโหมดการสั่นสะเทือนต่าง ๆ
          จะมีความสัมพันธ์กับสติฟเนสของโครงสร้าง
          (Stiffness)  ซึ่งเชื่อมโยงกับก�าลังของ  ภำพที่ 10 การตรวจวัดค่าความเร่งของการสั่นสะเทือนจากสิ่งแวดล้อมในสะพานข้ามแม่น�้าเจ้าพระยา
          โครงสร้าง (Strength) โดยอ้อม
            ทั้งนี้ การตรวจวัดด้วยวิธีทางพลศาสตร์
          นั้นมีความจ�าเป็นส�าหรับการประเมิน

          พฤติกรรมโดยรวม (Global Behavior)
          ของโครงสร้าง ซึ่งจะไม่สามารถท�าการ
          ทดสอบก�าลังรับน�้าหนักบรรทุกได้ เนื่องจาก
          ข้อจ�ากัดของการให้แรงกระท�า  เช่น
          พฤติกรรมการต้านทานแรงทางด้านข้างของ

          อาคารสูง ที่ไม่สามารถจ�าลองแรงกระท�า
          ของลมหรือแผ่นดินไหวได้










                                             ภำพที่ 11 รูปร่างของโหมดการสั่นสะเทือนที่ได้จากการตรวจวัดด้วยวิธี Ambient Vibration Measurement


          124
                  วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2564
   119   120   121   122   123   124   125   126   127   128   129