Page 119 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2564
P. 119

การใช้เทคโนโลยีด้านการตรวจสอบ ทดสอบ และติดตั้งเครื่องมือวัดในโครงสร้างอาคารและระบบสาธารณูปโภค
                                                          เพื่อการประเมิน จัดการ และการวางแผนบำารุงรักษาโครงสร้าง



            ผลิตภัณฑ์ในการก่อสร้างใหม่ ๆ เช่น วัสดุ  มีการบันทึกและสะสมเป็นฐานข้อมูลมากขึ้นเรื่อย ๆ ตามงานวิจัยที่ได้ท�าออกมา น�าไปสู่

            ก่อสร้างก�าลังสูง วัสดุเสริมก�าลังโครงสร้าง  การพัฒนาข้อก�าหนดในการประกอบวิชาชีพ (Code of Practice) ที่เพิ่มความปลอดภัย
            ชนิดใหม่ ๆ ระบบการก่อสร้างฐานรากที่มี  และสร้างความสมดุลในเชิงเศรษฐศาสตร์ของการใช้ทรัพยากรให้คุ้มค่ามากที่สุด
            ก�าลังแบกทานสูงขึ้น ระบบก่อสร้างแบบ      ดังนั้นแล้ว เมืองในยุคปัจจุบันจึงเต็มไปด้วยโครงสร้างอาคารสูง และสะพานช่วงยาว
            Prefabricated ก็มีส่วนในการก้าวข้าม    ซึ่งเมื่อเวลาผ่านไป โครงสร้างมีอายุการใช้งานมากขึ้นเรื่อย ๆ ก็จะเริ่มมีปัญหาด้านการ
            ขีดจ�ากัดของการก่อสร้างในอดีตทั้งสิ้น  เสื่อมสภาพของโครงสร้าง หรือมีข้อสงสัยในเชิงประสิทธิภาพ ความมั่นคงแข็งแรงของ
              ในมิติที่คู่ขนานกับการพัฒนาในภาค     โครงสร้างต่อการต้านทานแรงกระท�า ซึ่งประเด็นเหล่านี้ มิได้เป็นองค์ความรู้ที่วิศวกร
            อุตสาหกรรม ก็มีการค้นคว้า วิจัย ในภาค  ส่วนใหญ่ให้ความสนใจระหว่างการพัฒนาในช่วงเวลาหลายสิบปีที่ผ่านมา และมิได้

            การศึกษาอย่างต่อเนื่อง ที่ท�าให้ข้อมูลและ   บรรจุอยู่ในหลักสูตรวิศวกรรมบัณฑิต ท�าให้วิศวกรที่อยู่ในระบบอุตสาหกรรมขาดความ
            เทคนิคทั้งในเชิงของการประเมินแรง       รู้และความเข้าใจพื้นฐาน หรือไม่มีความรับรู้ (Awareness) เกี่ยวกับการตรวจสอบและ
            กระท�าต่อโครงสร้าง (อาทิ น�้าหนักบรรทุก   ประเมินโครงสร้าง ในขณะที่ความต้องการในกลุ่มงานประเภทนี้มากยิ่งขึ้นในปัจจุบัน
            ในโครงสร้างอาคารและสะพาน แรงลม         ทั้งนี้สามารถจ�าแนกงานตรวจสอบและประเมินโครงสร้างเป็นกลุ่มหลัก ๆ ดังต่อไปนี้
            แรงแผ่นดินไหว ระเบียบวิธีส�าหรับการ

            ค�านวณทางพลศาสตร์เพื่อให้ได้แรงกระท�า
            แบบจลน์ที่ถูกต้องและแม่นย�า) และการ    1. งานวิศวกรรมย้อนกลับ (Reversed Engineering)
            ค�านวณหาก�าลังต้านทานของชิ้นส่วน
            โครงสร้าง (Structural Members) ทั้ง    ซึ่งประกอบไปด้วย การส�ารวจรายละเอียดของโครงสร้างเชิงเรขาคณิต (Geometry) และ
            โครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก โครงสร้าง   เชิงก�าลังวัสดุ เพื่อสร้างแบบจ�าลองทางคณิตศาสตร์ส�าหรับค�านวณหาก�าลังรับน�้าหนัก
            คอนกรีตอัดแรง โครงสร้างเหล็ก ฯลฯ ในรูป  บรรทุก นับเป็นความต้องการที่สามารถพบได้บ่อยในโครงสร้างอาคารหรือโรงงานเก่า

            แบบการวิบัติต่าง ๆ (Mode of Failure) ที่ได้   ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงการใช้โครงสร้างซึ่งท�าให้น�้าหนักบรรทุกจรเปลี่ยนไป มีการจัดผัง
                                                   ทางสถาปัตยกรรมใหม่ หรือมีการถ่ายโอนกรรมสิทธิ์ของโครงสร้าง โดยมากแล้ว
                                                   มักจะไม่มีแบบรายละเอียดโครงสร้างและรายการค�านวณเก็บไว้ จึงจ�าเป็นต้องท�าการ
                                                   ตรวจสอบรายละเอียดโครงสร้างและก�าลังวัสดุใหม่ โดยจะแยกเป็นกลุ่มงานหลัก ๆ
                                                   สองกลุ่มคือ



































                                                                                                             119
                                                                             วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2564
   114   115   116   117   118   119   120   121   122   123   124