Page 97 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2564
P. 97
“จากบางระกำาโมเดล สู่การจัดการนำ้าแล้ง-นำ้าท่วมแบบครบวงจร”
- ช่วงเวลาที่ 3 - ช่วงเวลาที่ 5
ระดับน�้าท่วมขังสูงกว่าระดับของขอบบ่อวงซีเมนต์ชั้นนอก ระดับน�้าท่วมขังเริ่มคงที่ เส้นกราฟของค่าระดับน�้าใต้ดิน
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 2.2 เมตร (~15 เซนติเมตร) แต่ไม่ได้สูงเกิน ระดับตื้นในช่วงเวลานี้เริ่มเพิ่มขึ้นอย่างไม่มากจนกระทั่งคงที่
ระดับความสูงของขอบบ่อวงซีเมนต์ชั้นใน ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่ก�าลังเข้าสู่สภาวะเติมน�้าได้น้อย (~1.8 เมตร
1 เมตร (~75 เซนติเมตร) พบว่าการเติมน�้าลงสู่ชั้นน�้าใต้ดินระดับตื้น จากพื้นดิน) ยกเว้นเมื่อน�้าท่วมขังลดระดับลงหรือน�้าใต้ดินระดับ
มีประสิทธิภาพสูงสุดเพราะเส้นกราฟของค่าระดับน�้าใต้ดินระดับตื้น ตื้นมีการเคลื่อนที่/ไหลออกไปจากพื้นที่จึงจะท�าให้สามารถ
ในช่วงเวลานี้มีความลาดชันมากที่สุด ซึ่งแสดงให้เห็นอย่างชัดเจน เก็บเกี่ยวน�้าลงใต้ดินได้อีกครั้ง โดยพบเห็นได้ในกรณีที่ค่าระดับ
ว่าระบบบ่อวงเติมน�้าสามารถเก็บเกี่ยวน�้าท่วมขังให้ไหลซึมเข้าสู่ น�้าใต้ดินลดลงประมาณ 50 เซนติเมตร (วันที่ 4-17 พฤศจิกายน
ชั้นน�้าใต้ดินระดับตื้นได้อย่างต่อเนื่อง โดยที่วัสดุกรองของระบบบ่อ 2563) แล้วกลับเพิ่มขึ้นมาจนใกล้เคียงระดับเดิม
วงเติมน�้าไม่เกิดการอุดตัน
- ช่วงเวลาที่ 4 - ช่วงเวลาที่ 6
ระดับน�้าท่วมขังสูงกว่าระดับของขอบบ่อวงซีเมนต์ชั้นใน ขนาด ระดับน�้าท่วมขังเริ่มลดลงจนกระทั่งไม่เหลือน�้าท่วมขัง ค่าระดับ
เส้นผ่าศูนย์กลาง 1 เมตร (> 75 เซนติเมตร) เส้นกราฟของค่าระดับ น�้าใต้ดินจะลดลงเรื่อย ๆ จนเข้าสู่ค่าระดับน�้าใต้ดินระดับตื้นปกติ
น�้าใต้ดินระดับตื้นในช่วงเวลานี้เริ่มมีความลาดชันลดลงแสดงให้เห็น (8.5 เมตร จากพื้นดิน) ในช่วงเดือนมีนาคม
ถึงการเติมน�้าที่เริ่มลดลง
รูปที่ 6 การเฝ้าติดตามระดับน�้าใต้ดินระดับตื้นเพื่อประเมินประสิทธิภาพการเติมน�้าผ่านระบบบ่อวง (กรมทรัพยากรน�้าบาดาล, 2564)
97
วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2564