Page 93 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2564
P. 93

“จากบางระกำาโมเดล สู่การจัดการนำ้าแล้ง-นำ้าท่วมแบบครบวงจร”


                                                                                   619353E 1860175N และตั้งอยู่ ณ หมู่ที่ 3
                                                                                   บ้านบางแก้ว ต�าบลท่านางงาม อ�าเภอ
                                                                                   บางระก�า จังหวัดพิษณุโลก รวมถึงระดับ
                                                                                   น�้าท่วมขังประมาณ 1.5 เมตร


                                                                                     3.1 การจัดทำาระบบบ่อวง

                                                                                         เติมนำ้าใต้ดินระดับตื้น
                                                                                     การจัดท�าระบบบ่อวงเติมน�้าใต้ดินระดับ
                                                                                   ตื้นจ�านวน 10 บ่อ ได้ถูกจัดวางแผนผังใน
                                                                                   รูปแบบสลับฟันปลาที่มีระยะห่างระหว่าง
                                                                                   ระบบบ่อวงประมาณ 5 เมตร (รูปที่ 4)

                                                                                   เพื่อลดการปะทะกันของกรวยน�้าคว�่า
                                                                                   (Upconing) ของระบบบ่อที่ตั้งอยู่ติดกัน
                                                                                   ขณะเติมน�้า ซึ่งการปะทะกันของกรวยน�้า
                                                                                   คว�่าของระบบบ่อขณะเติมน�้าจะลดทอน
                                                                                   ประสิทธิภาพการเติมน�้า ระบบบ่อวงเติมน�้า

                                                                                   ที่จัดท�ามีความลึกประมาณ 9-12 เมตร. และ
                              รูปที่ 3 สภาพน�้าท่วมขังในพื้นที่บางระก�าโมเดล       มีความลึกลงไปในชั้นทรายประมาณ 1 เมตร
                                                                                   ภายในพื้นที่ทั้งหมด 1,175 ตารางเมตร
              2.2 สภาพทางอุทกธรณีวิทยา                                             โดยจะตั้งดักอยู่ในทิศทางของการผัน
              ข้อมูลโครงการศึกษาส�ารวจและจัดท�าแผนที่น�้าบาดาล ขั้นรายละเอียดมาตราส่วน  น�้าท่วมหลาก เพราะฉะนั้นน�้าจะท่วมขัง

            1:50,000 พื้นที่แอ่งน�้าบาดาลเจ้าพระยาตอนบน (กรมทรัพยากรน�้าบาดาล, 2554) พบ  อย่างน้อยประมาณ 2-3 เดือน เป็นประจ�า
            ว่าสภาพทางอุทกธรณีวิทยาของพื้นที่บางระก�าโมเดลบริเวณฝั่งตะวันตกเป็นชั้นหิน  ทุกปี อย่างไรก็ตามก่อนจัดท�าระบบบ่อวง
            ให้น�้าตะกอนน�้าพา (Qff) ซึ่งเป็นชั้นน�้าบาดาลที่กักเก็บน�้าบาดาลอยู่ในชั้นกรวดทรายหรือ  เติมน�้าจ�าเป็นต้องเจาะส�ารวจชั้นดินจ�านวน
            กระเปาะกรวดทรายสลับกับชั้นดินเหนียว โดยตะกอนกรวดทรายมักมีการคัดขนาดดี   3 จุด ซึ่งผลจากการเจาะส�ารวจชั้นดินท�าให้
            และมีความกลมกลึงสูง ทั้งนี้เป็นแหล่งน�้าใต้ดินที่ระดับความลึกไม่เกิน 30 เมตร ส่วนพื้นที่  ทราบความหนาของชั้นดินเหนียวชั้นบน
            บางระก�าโมเดลบริเวณฝั่งตะวันออกเป็นชั้นหินให้น�้าตะกอนตะพักน�้ายุคใหม่ (Qyt) ซึ่งเป็น  อยู่ที่ 7-11 เมตร ข้อมูลความหนาของชั้น

            ชั้นตะกอนหินร่วนมีความหนาโดยเฉลี่ย 80-100 เมตร แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ตอนบน   ดินเหนียวชั้นบนท�าให้สามารถก�าหนด
            (Qyt1) ประกอบด้วย ชั้นทรายปนดินเหนียว หรือดินเหนียวปนทราย และทรายละเอียด   ความลึกเบื้องต้นของระบบบ่อวงเติมน�้าได้
            มีความหนาประมาณ 25-50 เมตร และตอนล่าง (Qyt2) เป็นชั้นกรวดทราย หรือกรวดทราย  ส่งผลให้การประเมินราคาการจัดท�าระบบ
            ปนดินเหนียว มีความหนาประมาณ 20-40 เมตร ชั้นน�้าทั้งสองจะถูกคั่นด้วยดินเหนียว  บ่อวงเติมน�้า การประสานงานช่างเจาะ
            ที่ค่อนข้างหนา ทั้งนี้ได้มีการพบชั้นทรายอยู่ที่ระดับความลึกประมาณ 5-20 เมตร จากพื้นดิน   ท้องถิ่น (รถเจาะเสาเข็มที่ดัดแปลงให้มี
            (กรมทรัพยากรน�้าบาดาล, 2564)                                           ความสามารถในการเจาะบ่อวง) และการ
                                                                                   จัดซื้อจัดหาวัสดุอุปกรณ์ เป็นไปด้วยความ

                                                                                   สะดวกรวดเร็วเนื่องจากมีความชัดเจน
            3.   การเก็บเกี่ยวนำ้าที่หลากท่วมเติมลงสู่ชั้นนำ้าใต้ดิน

                ระดับตื้นผ่านระบบบ่อวง



              การเจาะส�ารวจชั้นดินเพื่อเลือกพื้นที่จัดท�าระบบบ่อวงเติมน�้าใต้ดินระดับตื้นท�าให้ได้
            พื้นที่ที่มีระดับความหนาของชั้นดินเหนียวชั้นบน 7-11 เมตร โดยมีพิกัด UTM ที่ 47Q


                                                                                                              93
                                                                             วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2564
   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98