Page 16 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2565
P. 16
ตอนที่ ๑๐ โบราณ กับการศึกษา - ฤาล้าสมัย
อนึ่ง ตัวอย่างต�ารา เอกสาร หรือแหล่งสืบค้น (รูปที่ ๑) มีทั้งไทย เป็นเรื่องยากส�าหรับคณะ และอาจารย์วิศวกรรมศาสตร์ อย่างไร
และต่างประเทศ [๖], [๗], [๘], [๙], [๑๐] อนุมานได้ว่า หลายสถาบัน ก็ตาม บทความที่เกี่ยวแก่หลักสูตร การเรียนการสอน แลกเปลี่ยน
ศึกษาในต่างประเทศเห็นความส�าคัญ ที่ผู้เรียนวิศวกรรมศาสตร์ เรียนรู้ ดูจะได้แนวทางว่า ท�านุบ�ารุงศิลปวัฒนธรรม ส�าหรับ
ควรได้รู้จักประวัติวิชาชีพ สังเกตว่า เนื้อหาบางส่วน แทบไม่ วิศวกรรมศาสตร์ ย่อมไม่น่าจะจ�ากัดเพียงแสดงออกด้วยอัตลักษณ์
แตกต่างกัน น่าตื่นเต้นที่ต�าราบางเล่ม ก็เรียบเรียงโดยทายาทบุคคล หรือขนบธรรมเนียมประเพณี (อาทิ แต่งกายไทย อาหารไทย
ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องราว (เช่น ทายาทของสองพี่น้องตระกูล Wright) ศิลปการแสดง งานเทศกาลประเพณีต่าง ๆ) เพราะวิชาชีพ และ
คณะวิศวกรรมศาสตร์หลายสถาบันในประเทศไทย มีวิชาท�านอง ผู้เรียนวิศวกรรมศาสตร์ ไม่น่าจะปรารถนา ไม่น่าจะมีเวลา
นี้อยู่แล้ว ผู้มีประสบการณ์ศึกษาจากต่างประเทศยืนยันว่า เนื้อหา ประดิษฐ์ความคิดละเมียดละไมในประเด็นดังกล่าว จึงเห็นพ้องว่า
คล้ายคลึงกับวิชาท�านองนี้ในสถาบันต่างประเทศ ศิลปวัฒนธรรม ย่อมแทรกซึมในตัวตน ชีวิต ภารกิจประจ�าวัน
โดยไม่ต้องเพิ่มภาระ ควรเริ่มจากเรื่องพื้นฐานง่าย ๆ เช่น ประวัติ
วิศวกรรมสากล และไทย (รู้เขา รู้เรา) เข้าใจบริบท แสดงออก
อย่างสื่อสะท้อนทั้งความเป็นวิศวกรรม และศิลปวัฒนธรรม คือ
การท�านุบ�ารุงศิลปวัฒนธรรม โดยใช้องค์ความรู้วิศวกรรม อาทิ
วิศวกรรมเครื่องกล เข้าใจวัสดุ และรูปแบบเรือนไทย อาคารไทย
ที่เอื้อต่อภูมิอากาศ ธรรมชาติ ภาวะน่าสบาย อนุรักษ์พลังงาน และ
ยั่งยืน วิศวกรรมโยธา ใช้ความรู้วิศวกรรม โครงสร้าง วัสดุ ปฐพี
กลศาสตร์ บูรณะฟื้นฟูโบราณสถาน วิศวกรรมเหมืองแร่ อธิบาย
พัฒนาการ ของการค้นพบทองแดง ดีบุก ถลุงรวมเป็นสัมฤทธิ์ ที่เกิด
ก่อนยุคเหล็ก วิศวกรรมอุตสาหการ ประยุกต์ความรู้อดีตดึกด�าบรรพ์
กับงานผลิตเครื่องประดับโลหะ โดยใช้เทคนิค Lost Wax (น�้าโลหะ
ที่หลอมละลายแทนที่ขี้ผึ้ง) วิศวกรรมไฟฟ้า และสาขาอิเล็กทรอนิกส์
รูปที่ ๑ ตัวอย่างต�าราเกี่ยวแก่ประวัติวิศวกรรมศาสตร์ พื้นฐานการ
อธิบายวิวัฒนาการของเซลล์ไฟฟ้าแบบ Voltaic Cell ถึง Litium
แก้ปัญหาเชิงวิศวกรรม จริยธรรม และงานวิศวกรรมโดดเด่นของมนุษยชาติ
หรือ Hydrogen ฯลฯ
ส�าหรับวิศวกรรมสาขาโยธา ดูจะเป็นเรื่องใกล้ตัว และได้เปรียบ
ท�านุบ�ารุงศิลปวัฒนธรรม อยู่บ้าง เพราะการออกแบบ ก่อสร้าง ฟื้นฟูบูรณะซ่อมแซมศาสน
แบบวิศวกรรมศาสตร์ สถาน โบราณสถาน หรืออาคารเดิม ย่อมเป็นสาระทั้งการเรียน
การสอน วิจัย บริการวิชาการ อย่างบูรณาการ การท�านุบ�ารุง
ในการประชุมสภาคณบดีวิศวกรรมศาสตร์ เพื่อร่างมาตรฐาน ศิลปวัฒนธรรม คือ สิ่งใกล้ตัวทั้งระหว่างศึกษา และประกอบวิชาชีพ
คุณวุฒิ – มคอ. มีประเด็นอภิปราย และความกังวล เกี่ยวแก่ภารกิจ ในการประชุมวิชาการวิศวศึกษา ของสภาคณบดีวิศวกรรมศาสตร์
ของอาจารย์ (การเรียนการสอน วิจัย บริการวิชาการ และท�านุบ�ารุง ประเทศไทย เป็นโอกาสที่อาจารย์วิศวกรรมศาสตร์สาขาต่าง ๆ
ศิลปวัฒนธรรม) ที่ต้องเชื่อมโยงกระบวนประกันคุณภาพการศึกษา ได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ (รูปที่ ๒ และรูปที่ ๓ ตามล�าดับ)
และปรากฏใน มคอ. ทุกระยะ การท�านุบ�ารุงศิลปวัฒนธรรม ดูจะ
16 วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับท 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2565