Page 11 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2565
P. 11

ตอนที่ ๑๐ โบราณ กับการศึกษา - ฤาล้าสมัย



              บางหลักสูตรอาจพิจารณาองค์ประกอบ หรือแนวทางอื่นนอกเหนือ  ควบคุมแต่ละระดับ พ.ศ. ๒๕๕๑ ระเบียบคณะกรรมการสภาวิศวกร
            จากนี้ เช่น วิศวกรรมโยธาบางสถาบัน ใช้แนวทางของ American   ว่าด้วยองค์ความรู้พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ องค์ความรู้พื้นฐาน
            Society of Civil Engineers – ASCE ที่ว่าด้วยเรื่องวิศวกรโยธา  ทางวิศวกรรม และองค์ความรู้เฉพาะทางวิศวกรรม ที่สภาวิศวกร
                                                      2
            ในอนาคต และองค์ความรู้วิศวกรโยธาในศตวรรษที่ ๒๑  ประกอบ  จะรับรองปริญญา ประกาศนียบัตร หรือวุฒิบัตรในการประกอบ
            [๑], [๒]                                             วิชาชีพวิศวกรรมควบคุม พ.ศ. ๒๕๖๒ (ซึ่งปกติจะปรับปรุงแก้ไข
              ๒. กฎหมายวิชาชีพ ประกอบด้วย พระราชบัญญัติวิศวกร พ.ศ.  ทุกสี่ปี สอดคล้องรอบเวลาปรับปรุงหลักสูตร โดยฉบับก่อนหน้านี้

            ๒๕๔๒ กฎกระทรวงก�าหนดสาขาวิชาชีพวิศวกรรมและวิชาชีพ  คือ ระเบียบคณะกรรมการสภาวิศวกร ฯ พ.ศ. ๒๕๕๘ และระเบียบ
            วิศวกรรมควบคุม พ.ศ. ๒๕๖๕ (ใช้แทน กฎกระทรวงก�าหนดสาขา  คณะกรรมการสภาวิศวกรฯ พ.ศ. ๒๕๕๔)
            วิชาชีพวิศวกรรมและวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม พ.ศ. ๒๕๒๐) ข้อบังคับ    ปัจจุบันกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี  สาขา
            สภาวิศวกรว่าด้วยหลักเกณฑ์และคุณสมบัติของผู้ประกอบวิชาชีพ  วิศวกรรมศาสตร์ มคอ. ๑ ปรับปรุงแก้ไข ตามประกาศกระทรวง
            วิศวกรรมควบคุม แต่ละระดับ พ.ศ. ๒๕๕๑ ข้อบังคับสภาวิศวกร   ศึกษาธิการเรื่องกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

                                                                          3
            ว่าด้วยการรับรองปริญญา ประกาศนียบัตร หรือวุฒิบัตร ในการ  พ.ศ. ๒๕๕๘  ก�าหนดคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ ประกอบด้วย
            ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม พ.ศ. ๒๕๕๔ ข้อบังคับสภาวิศวกร   ๑. สามารถตรวจสอบ ระบุปัญหา วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของปัญหา
            ว่าด้วยหลักเกณฑ์และคุณสมบัติของผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรม  ทางวิศวกรรม  และสามารถประยุกต์ใช้ความรู้คณิตศาสตร์




            วัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Social-Culture Community - ASCC) และประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ASEAN Economic Community (AEC) โดย
            เป้าหมายของ AEC คือ จะเป็นฐานการผลิตร่วม  (ฐานการผลิต และตลาดเดียว เคลื่อนย้ายเข้าไปเปิดกิจการสถานศึกษา การค้า บริการ การลงทุน และ
            แรงงานฝีมืออย่างเสรี เคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรี) สร้างเสริมความสามารถแข่งขัน การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค และบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจ
            โลก ทั้งนี้ ประเภทบริการ ๑๒ สาขา ได้รวม การขนส่ง ก่อสร้าง และวิศวกรรม ที่เกี่ยวเนื่อง มีการจัดท�าข้อตกลงยอมรับคุณสมบัติของบริการวิชาชีพต่างๆ
            (Mutual Recognition Arrangement: MRA) เพื่ออ�านวยความสะดวกกับผู้ประกอบวิชาชีพ รวมทั้งวิชาชีพวิศวกรรม ในประเทศสมาชิกอาเซียนที่เข้าไป
            พ�านัก และท�างาน การเคลื่อนย้ายแรงงานมีฝีมือเจ็ดสาขาวิชาชีพ (รวมสาขาวิศวกรรม)


               2  หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมโยธา) รองรับการศึกษาในศตวรรษที่ ๒๑ ส�าหรับวิชาชีพวิศวกรรมโยธา องค์ความรู้ ประกอบด้วยบูรณา
            การผลลัพธ์หลักสามด้าน (ความรู้พื้นฐาน เทคนิค และวิชาชีพ) เพื่อจะประสบความส�าเร็จห้าระดับ (ความรู้ ความเข้าใจ ประยุกต์ วิเคราะห์ สังเคราะห์ และ
            ประเมิน) โดย การศึกษาปกติตามหลักสูตรปริญญาตรี (วิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิศวกรรมโยธา ๑๔๔ - ๑๕๐ หน่วยกิต) รวมกับประสบการณ์ก่อน
            เข้าสู่วิชาชีพ ซึ่งอาจศึกษาเพิ่มเติมหลักสูตรมหาบัณฑิต หรือศึกษาเรียนรู้ที่นอกเหนือจากหลักสูตรปริญญาตรีที่เป็นเรื่องเฉพาะทางเทคนิค (ประลอง ทดสอบ
            ยอมรับและแก้ปัญหา การออกแบบ ความยั่งยืน ปัญหาปัจจุบัน บทเรียนจากอดีต การบริหารจัดการโครงการ หรืองานวิศวกรรมฯ พลวัฒน์ของวิศวกรรม
            โยธา) ปฏิบัติวิชาชีพ (ส�าหรับประเทศไทย หมายถึง หลักสูตรอบรม อบรมเชิงปฏิบัติ ซึ่งจัดเนื้อหา และก�าหนด Continuing Professional Unit - CPU)
            โดยความเชี่ยวชาญทางเทคนิค มีพื้นฐานสี่ด้าน คือ วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ (วิทยาศาสตร์ทั่วไป ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยาสิ่งแวดล้อมฯ) คณิตศาสตร์ และแคลคูลัส
            สังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์


               3 เดิม กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมศาสตร์ มคอ. ๑ ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่องกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับ
            อุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ และประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่องกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๓ ครอบคลุม ๑๗ สาขา
            วิศวกรรมไฟฟ้า (สาขาย่อยไฟฟ้าก�าลัง) วิศวกรรมไฟฟ้า (สาขาย่อยไฟฟ้าสื่อสาร/โทรคมนาคม) หรือ วิศวกรรมโทรคมนาคม วิศวกรรมไฟฟ้า (สาขาย่อย
            อิเล็กทรอนิกส์) หรือ วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส วิศวกรรมไฟฟ้า (สาขาย่อยระบบวัดคุม) หรือ วิศวกรรมระบบวัดคุม/วิศวกรรมอัตโนมัติ วิศวกรรมเครื่องกล
            วิศวกรรมโยธา วิศวกรรมอุตสาหการ วิศวกรรมเคมี วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม วิศวกรรมเกษตร วิศวกรรมเมคคาทรอนิกส์ วิศวกรรมเหมืองแร่ วิศวกรรมยานยนต์
            วิศวกรรมวัสดุ วิศวกรรมอาหาร วิศวกรรมกระบวนการชีวภาพ
              โดยอาจจ�าแนกเป็นขอบเขตองค์ความรู้ที่ส�าคัญ ดังนี้ ๑) คณิตศาสตร์ประยุกต์ คอมพิวเตอร์ และการจ�าลอง (Applied Mathematics, Computer and
            Simulations) น�าเสนอระบบต่าง ๆ อาทิ ในรูปแบบของสมการคณิตศาสตร์ การจ�าลองระบบ การออกแบบ และวิเคราะห์ระบบจ�าลอง ระบบป้อนกลับ
            และการประมวลผลบนคอมพิวเตอร์ ๒) กลศาสตร์ (Mechanics) การวิเคราะห์แรงหรือภาระอื่น ๆ ที่กระท�ากับระบบเชิงกล วิเคราะห์การเคลื่อนที่
            วิเคราะห์ความเค้น และการเปลี่ยนรูปของวัตถุภายใต้ภาระแบบต่าง ๆ ที่กระท�า ๓) อุณหศาสตร์ และกลศาสตร์ของไหล (Thermal Sciences and Fluid


                                                                                      ปีที่ 75 ฉบับที่ 4 กันยายน-ธันวาคม  วิศวกรรมสาร 11
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16