Page 15 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2565
P. 15

ตอนที่ ๑๐ โบราณ กับการศึกษา - ฤาล้าสมัย

                นอกเหนือจากเกณฑ์ขั้นต�่า                         วิชาพื้นฐานของวิศวกรรมศาสตร์ การสื่อความหมายทางวิศวกรรม
                อาจมีเรื่องโบราณ                                 โลกาภิวัฒน์ ความส�าเร็จและล้มเหลวในงานวิศวกรรม การพัฒนา

                                                                 อย่างยั่งยืน และเศรษฐกิจพอเพียง กฎหมายวิชาชีพและจรรยา
              ระเบียบคณะกรรมการสภาวิศวกร ว่าด้วยวิชาพื้นฐานทาง   บรรณทางวิชาชีพวิศวกรรม  อัตลักษณ์ และส�านึกไทย - History of
            วิทยาศาสตร์ วิชาพื้นฐานทางวิศวกรรม และวิชาเฉพาะทาง   engineering, engineering career, problem solving and

            วิศวกรรม ที่สภาวิศวกรจะให้การรับรองปริญญา ประกาศนียบัตร  computation in engineering, basics of engineering,
            และวุฒิบัตร ในการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม เป็นเกณฑ์  communication in engineering, globalization, sustainable
            ขั้นต�่า  แต่ละหลักสูตร  อาจพิ่มเติมวิชาแต่ละหมวดได้  โดย  development and sufficiency economy, engineering
            พิจารณา อัตลักษณ์ หรือความเหมาะสมอื่น อาทิ ประวัติวิศวกรรม   regulations and ethic, Thai’s identity and thinking มักต้อง
            (History of Engineering) จริยธรรม (Esthics) การเป็นผู้ประกอบการ   ใช้ผู้บรรยายร่วม หลายคน จากหลายสาขาวิชา ซึ่งเชี่ยวชาญแตกต่าง
            (Enterpreur) หรือสังเคราะห์แบบบูรณาเป็น แนะน�าวิชาชีพ   กัน หัวข้อบรรยาย เปลี่ยนไปตามสถานการณ์ หรือความประสงค์

            (Introduction to Engineering) ตัวอย่างค�าอธิบายวิชาแบบ  ของผู้เรียน แต่มีเนื้อหาที่คงไว้ (ตารางที่ ๑) เพื่อสอนให้ผู้เรียน
            บูรณาการ : ประวัติวิศวกรรมศาสตร์ วิชาชีพวิศวกรรมศาสตร์  จักอดีต เข้าใจปัจจุบัน เชื่อมโยงอนาคต เรื่องโบราณในงานวิศวกรรม
            แนวทางการแก้ปัญหาเชิงวิศวกรรม การค�านวณทางวิศวกรรม  จึงไม่ล้าสมัย


            ตารางที่ ๑ ตัวอย่างแผนการสอนพื้นฐาน หรือแนะน�าวิชาชีพวิศวกรรม มีเนื้อหา โบราณกับงานวิศวกรรม

             ครั้งที่                                        เรื่อง (หัวข้อ)
               ๑   ประวัติวิศวกรรมศาสตร์ และพัฒนาการ อารยธรรม Mesopotamia, Egyptian, Greek-Roman, Mayan-Aztec-Inca, Chinese-Indian ยุคปฏิวัติ
                   การเกษตร ปฏิวัติอุตสาหกรรม ยุคล้อเลื่อน กลจักรไอน�้า เครื่องยนต์สันดาปภายใน น�้ามัน และรถยนต์ ยุคการบิน การค้นพบ หรือสิ่งประดิษฐ์
                   ส�าคัญ (เข็มทิศ เครื่องตรวจวัดแผ่นดินไหว การพิมพ์ ปืน ดินปืน การต่อเรือ และเดินเรือ จักรยาน ไฟฟ้า วิทยุ โทรศัพท์ โทรทัศน์ คอมพิวเตอร์ ฯ)
               ๒   ประวัติวิศวกรรมไทย (ก่อนประวัติศาสตร์ : ยุคหินเก่า ยุคหินใหม่ ยุคสัมฤทธิ ยุคเหล็ก ทวาราวดี ขอม ลพบุรี ล้านช้าง ล้านนา ศรีวิชัย เชียงแสน
                   สุโขทัย อยุธยา รัตนโกสินทร์)

               ๓   โลกาภิวัฒน์ ความพยายามโลกาภิวัฒน์ในอดีต ที่เคลื่อนที่จากตะวันออก ไปตะวันตก (Jenggis Khan, Napolian Bonapart World
                   Wars) ปฏิวัติการเกษตร ปฏิวัติอุตสาหกรรม ปฏิวัติข้อมูลข่าวสาร สู่การเปิดเสรีในการประกอบวิชาชีพ และทางรอดของวิศวกรไทย การรวม
                   กลุ่มประชาคมเพื่อแข่งขัน และความอยู่รอด EU BRICS APEC AEC โลกาภิวัฒน์กับวิชาชีพ ทางรอดของคนไทย และประเทศไทย แผนพัฒนา
                   เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และประเทศไทย ๑.๐ ถึงประเทศไทย ๔.๐
               ๔   วิชาชีพวิศวกรรม ใน AEC และ APEC อาเซียนศึกษา (เศรษฐกิจ การค้า การลงทุน สังคม วัฒนธรรม การเมือง การปกครอง การทหาร
                   การเคลื่อนย้ายประชากรหรืออื่น ๆ)
              ๑๐ ความส�าเร็จ และล้มเหลวของงานวิศวกรรม พิบัติภัย และอุบัติภัยจากงานวิศวกรรม กรณีศึกษา บทเรียนจากอดีต เทคโนโลยีที่เหมาะสม
                   การพัฒนาอย่างยั่งยืน วิศวกรรมกับศิลปวัฒนธรรม : ประวัติ และพัฒนาการของงานวิศวกรรมไทย ศักยภาพ และผลงานวิศวกรรมไทย
                   จริยธรรมกับงานวิศวกรรม อัตลักษณ์ วิถี ภูมิปัญญา และส�านึกไทย Sufficiency Economies ไทยกับสากลประชาคมโลก

              ๑๑ ผลจากการพัฒนาต่อสิ่งแวดล้อม และชีวิตประจ�าวัน กับผลกระทบ มลพิษ มลภาวะ รู้จักฝุ่น PM 2.5 โลกร้อน ภาวะเรือนกระจก เทคโนโลยีสะอาด
              ๑๓ แนะน�าสาขาวิชาวิชาชีพ และการศึกษาในศตวรรษที่ ๒๑ การสร้างทัศนคติ ในการเรียน บทบาทของวิศวกร ในฐานะผู้ชี้น�าสังคม และสาธารณะ
                   สาขาวิชาชีพทางวิศวกรรม ลักษณะงาน โอกาสความส�าเร็จในเส้นทางวิชาชีพ














                                                                                      ปีที่ 75 ฉบับที่ 4 กันยายน-ธันวาคม  วิศวกรรมสาร 15
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20