Page 14 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2565
P. 14

ตอนที่ ๑๐ โบราณ กับการศึกษา - ฤาล้าสมัย



          และหลักการของการบริหารโครงการ เทคนิคการก่อสร้าง กฎหมาย  พ.ศ. ๒๕๖๐
          ที่เกี่ยวข้อง (Construction Management) กลุ่มที่ ๓ วิศวกรรม    ข้อ ๓ ให้สาขาวิศวกรรมอื่นดังต่อไปนี้เป็นวิชาชีพวิศวกรรม
          ขนส่ง (Transportation Engineering) : วิเคราะห์ตัวแปรด้านการ  (๑) วิศวกรรมเกษตร (๒) วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ (๓) วิศวกรรมเคมี
          จราจร ออกแบบระบบสัญญาน วิศวกรรมการทาง วางแผนงานขนส่ง   (๔) วิศวกรรมชายฝั่ ง (๕) วิศวกรรมชีวการแพทย์ (๖) วิศวกรรม
          โลจิสติกส์ (Transportation Engineering, Highway Engineering)  ต่อเรือ (๗) วิศวกรรมบ�ารุงรักษาอาคาร (๘) วิศวกรรมป้องกันอัคคีภัย
          กลุ่มที่ ๔ วิศวกรรมแหล่งน�้า (Water Resource Engineering) :  (๙) วิศวกรรมปิโตรเลียม (๑๐) วิศวกรรมพลังงาน (๑๑) วิศวกรรม

          การวิเคราะห์กลศาสตร์ของไหล อุทกวิทยา ออกแบบด้านวิศวกรรม  เมคคาทรอนิกส์ (๑๒) วิศวกรรมยานยนต์ (๑๓) วิศวกรรมระบบราง
          ชลศาสตร์ (Hydrology, Hydraulic Engineering) กลุ่มที่ ๕  (๑๔) วิศวกรรมสารสนเทศ (๑๕) วิศวกรรมส�ารวจ (๑๖) วิศวกรรม
          วิศวกรรมเทคนิคธรณี (Geotechnical Engineering) พื้นฐานการ  สิ่งแวดล้อม (๑๗) วิศวกรรมแหล่งน�้า (๑๘) วิศวกรรมอากาศยาน
          วิเคราะห์สมบัติดินในทางวิศวกรรม วิเคราะห์การวิบัติของดิน และ  (๑๙) วิศวกรรมอาหาร
          แนวทางการแก้ไข สามารถเลือกใช้ชนิดฐานราก และออกแบบระบบ    ข้อ ๔ ให้วิชาชีพวิศวกรรมในสาขาดังต่อไปนี้เป็นวิชาชีพ

          ป้องกันดิน (Soil Mechanics, Foundation)             วิศวกรรมควบคุม (๑) วิศวกรรมโยธา (๒) วิศวกรรมเหมืองแร่ (๓)
            ในการควบคุมการประกอบวิชาชีพ ปัจจุบัน กฎกระทรวงก�าหนด  วิศวกรรมเครื่องกล (๔) วิศวกรรมไฟฟ้า (๕) วิศวกรรมอุตสาห
                                                          5
          สาขาวิชาชีพวิศวกรรมและวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม พ.ศ. ๒๕๖๕    การ (๖) วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม (๗) วิศวกรรมเคมี ทั้งนี้ เฉพาะงาน
          ข้อ ๒ ให้ยกเลิก (๑) กฎกระทรวงก�าหนดสาขาวิชาชีพวิศวกรรม  ตามประเภทและขนาดของวิชาชีพวิศวกรรมแต่ละสาขาที่ก�าหนดไว้
          และวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม พ.ศ. ๒๕๕๐ (๒) กฎกระทรวง  ในกฎกระทรวงนี้ ฯลฯ
          ก�าหนดสาขาวิชาชีพวิศวกรรมและวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม (ฉบับที่ ๒)




            ดังกล่าวข้างต้น หัวข้อนี้ สรุปสั้น ๆ ว่า กว่าจะเป็นหลักสูตร  ปรับปรุงหลักสูตร) แต่ละสถาบันศึกษา ย่อมมีกระบวนคัดสรร
          วิศวกรรมศาสตร์ อาจารย์ประจ�าหลักสูตร และผู้สอน ต้องท�างาน  ผู้สอน และผู้เรียนเป็นมาตรฐาน ดังนั้น สัมฤทธิผลของการศึกษาไทย

          ที่เหมือนไม่ใช่งาน ดูจะหนักหนากว่าการสอน เมื่อเริ่มการบวนเรียน  ในสาขาวิศวกรรมศาสตร์ จึงไม่น่าจะล้าสมัย แต่จะดีเพียงใด ย่อมขึ้น
          และสอน ก็มีภาระที่ต้องติดตาม และปฏิบัติจนแทบนับไม่ถ้วน และ  กับมาตรการปฏิบัติ ผู้ปฏิบัติ และเนื้อหาในกระบวนเรียนสอน หรือ
          เกินก�าลังที่จะท�า ผลสัมฤทธิ์ เป็นอย่างไร ย่อมต้องฝากความหวัง  ผลิตบัณฑิต ซึ่งเสมือนนามธรรมยิ่งกว่าเอกสารหลักฐาน หรือตัวเลข
          กับผู้สอน และผู้เรียน อนุมานว่า หลักสูตร และการเรียนการสอน   ยืนยันความส�าเร็จ (เช่น จ�านวนผู้ส�าเร็จการศึกษาตามหลักสูตร
          ถูกออกแบบ และกรั่นกรองมารอบคอบแล้ว อีกทั้งต้องปรับปรุง  เกรดเฉลี่ย จ�านวนบัณฑิตได้งานท�า คะแนนประกันคุณภาพของ

          ทุกรอบสี่ปี (เมื่อผู้เรียนเข้าศึกษา จนจบหลักสูตรสี่ปี ก็จะต้อง  หลักสูตรฯ)


          Differential Equations ๖. Strength of Materials หรือ Mechanics of Materials ๗. Fluid Mechanics/Hydraulics & Laboratory ๘. Surveying &
          Field Camp โดยต้องมีการเรียนการสอนทั้ง ๘ กลุ่มรายวิชาและมีหน่วยกิตรวมกัน ไม่น้อยกว่า ๒๔ หน่วยกิตฯ กลุ่มวิชาเฉพาะทางวิศวกรรม ประกอบด้วย
          ๑. Structural Analysis ๒. Reinforced Concrete Design & Practice ๓ Soil Mechanics & Laboratory ๔. Civil Engineering Materials and Testing
          ๕. Steel and Timber Design & Practice / Foundation Engineering & Practice ๖. Hydraulic Engineering / Water Resources Engineering
          ๗. Highway Engineering / Transportation Engineering / Pavement Design / Railway Engineering /Route Surveying / Photogrammetry
          ๘ Construction Engineering and Management / Construction Technique โดยวิชาเฉพาะทางวิศวกรรมต้องไม่น้อยกว่า ๒๔ หน่วยกิต รายวิชา
          ในกลุ่มที่ ๑-๖ ให้เลือกกลุ่มละหนึ่งวิชา ส่วนรายวิชาในกลุ่มที่ ๗ และ ๘ โดยจะเลือกจากกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง หรือสองกลุ่มก็ได้


             5  เดิม กฎกระทรวงก�าหนดสาขาวิชาชีพวิศวกรรมและวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม พ.ศ. ๒๕๕๐ กฎกระทรวงก�าหนดสาขาวิชาชีพวิศวกรรมและวิชาชีพวิศวกรรม
          ควบคุม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ ออกโดย อาศัยอ�านาจ (ตามความในบทนิยามค�าว่า “วิชาชีพวิศวกรรม” และ “วิชาชีพวิศวกรรมควบคุม” ในมาตรา ๔ และมาตรา ๕
          แห่งพระราชบัญญัติวิศวกร พ.ศ. ๒๕๔๒ ข้อ ๒ ให้วิชาชีพวิศวกรรมในสาขาดังต่อไปนี้เป็นวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม (๑) วิศวกรรมโยธา (๒) วิศวกรรมเหมืองแร่
          (๓) วิศวกรรมเครื่องกล (๔) วิศวกรรมไฟฟ้า (๕) วิศวกรรมอุตสาหการ (๖) วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม (๗) วิศวกรรมเคมี ทั้งนี้ เฉพาะงานตามประเภทและขนาดของวิชาชีพ
          วิศวกรรมแต่ละสาขาที่ก�าหนดไว้ในกฎกระทรวงนี้ ฯลฯ


          14 วิศวกรรมสาร  ปีที่ 75 ฉบับท 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2565
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19