Page 42 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2565
P. 42
ตอนที่ ๑๐ โบราณ กับการศึกษา - ฤาล้าสมัย
ฉ. ตัวอย่างศึกษาเปรียบเทียบสถาปัตยกรรม และโครงสร้างโบราณสถานในเมืองเชียงใหม่กับผลจากแผ่นดินไหว วัดอุโมงค์ และเจดีย์เจ็ดยอด
(อนุเคราะห์ โดย ผศ.เสริมศักดิ์ พงษ์เมษา) เจดีย์หลวง กู่ค�า (อนุเคราะห์โดย ศรัณย์ ประมูลพงศ์) กู่กุด ((อนุเคราะห์ โดย วงศกร ศิริภาพ) และกู่เต้า
(อนุเคราะห์ โดย ผศ.เสริมศักดิ์ พงษ์เมษา)
ช. อาคารแบบ Chino-Potugish ในเมืองเก่าภูเก็ต (อนุเคราะห์ โดย ชัยเนตร การุณยเวทย์ ฉัตรินทร์ พุ่มเทียน และอนันตศักดิ์ ประภัสสร)
รูปที่ ๑๕ ตัวอย่างท่องเที่ยว โดยก�าหนดพื้นที่ สถานที่ตั้ง หรือประเด็นทางสถาปัตยกรรม วิศวกรรม และศิลปกรรม
ส่งท้าย
โบราณกับงานวิศวกรรม ตอนสุดท้าย อธิบายเส้นทางผลิตวิศวกร ก็ขอละเว้นที่จะไม่วิพากษ์วิจารณ์ แต่ตอบตรง เฉพาะเรื่องตรงตัวว่า
สรุปว่า นโยบายการศึกษา ที่มาของหลักสูตร ไม่ล้าสมัย กลับกัน คนอยู่ตรงกลาง ผู้ต้องปฏิบัติตามนโยบายการศึกษา และสภาวิชาชีพ
ผู้รับผิดชอบทุกหลักสูตร ผู้สอนทุกท่าน มีภารกิจหลายด้าน เพื่อ ให้บัณฑิตมีความรู้มีคุณภาพ ก็ต้องใช้ความสามารถภายใต้ทางเลือก
คุณภาพของบัณฑิตวิศวกรรม เชื่อว่า หากสอน และเรียนตาม และทรัพยากรจ�ากัด อย่างไรก็ตาม การให้ผู้เรียนได้รับรู้โบราณกับ
หลักสูตร บัณฑิตจบมาเป็นเลิศในจักรวาล หากแต่ไม่เป็นตามนั้น งานวิศวกรรม ย่อมไม่ไร้สาระ เพราะเป็นสากล นอกนั้น เนื้อหาได้
42 วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับท 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2565