Page 40 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2565
P. 40

ตอนที่ ๑๐ โบราณ กับการศึกษา - ฤาล้าสมัย



              วางแผนเที่ยวแบบรวบรัด                           (เช่น สิ่งปลูกสร้าง วัสดุ และฐานรากยุคทวราวดี อาคารสมัยใหม่
                                                              ในยุครัตนโกสินทร์ สะพาน และอุโมงค์รถไฟ) จะวางแผนอย่างไร

            หากวิศวกรจะต้องเดินทางเพื่อท�างาน เพื่อศึกษาเรียนรู้ หรือ  ขึ้นกับเวลา (ใช้เวลาเดินทางน้อย มีเวลาท่องเที่ยวเป็นส่วนใหญ่)
          ท่องเที่ยว คงมีเวลาไม่มากนัก หรือถึงจะมีเวลา แต่ก็เพราะวิศวกร   สถานที่ความสนใจ หรืออื่น ๆ
          คงประสงค์จะใช้เวลาอย่างรวบรัด แต่คุ้มค่า ได้ใจความ ดังนั้น     ในกรุงเทพ มีตัวอย่าง กรณีศึกษาหลากหลาย และไม่ไกลนัก
          โบราณกับงานวิศวกรรมไทย ต้องวางแผนเที่ยว โดยอาจวางแผน  ท่องเที่ยวได้บ่อยตามปรารถนา แต่ละโอกาส อาจก�าหนดสถานที่
          ตามพื้นที่ หรือสภาพภูมิศาสตร์ คือ อยู่ในพื้นที่เดียวกัน หรือบริเวณ  เป็นหลัก หรือก�าหนดประเด็นศึกษา บ่อยครั้งทั้งสองวัตถุประสงค์

          ข้างเคียง ซึ่งอาจจะได้หลายเรื่องในเวลาเดียวกัน (เช่น โบราณสถาน  มักจะอยู่ในพื้นที่เดียวกัน หรือไม่ห่างไกลกัน (รูปที่ ๑๕ก) บางแห่ง
          ต่างอารยธรรม โครงสร้าง อาคาร วัสดุ และเทคนิคก่อสร้างต่างยุคสมัย   อาจมีโบราณสถานที่เป็นวัด หรือศาสนสถานอื่นเสียเป็นส่วนมาก
          รูปแบบสถาปัตยกรรมอาคารต่างยุคของยุโรป สิ่งปลูกสร้างระหว่าง  (รูปที่ ๑๕ข ถึงรูปที่ ๑๕จ) หรืออาจมีย่านอาคารเก่า (รูปที่ ๑๕ฉ)
          สงคราม) หรือวางแผนเที่ยวโดยค�านึงสาระ หรือประเด็นที่สนใจ



















































           ก. หลากหลายสิ่ง และประเด็นทางวิศวกรรม ในพื้นที่ใกล้เคียงกันในกรุงเทพ (ป้อมมหากาฬ ป้อมพระอาทิตย์ ก�าแพงพระบรมมหาราชวัง สิ่งปลูกสร้าง
            ในยามศึก พระราชวังสราญรมย์ กระทรวงกลาโหม กรมแผนที่ทหาร ตัวอย่างอาคารแบบฝรั่งในประเทศไทยยุคเริ่มต้น หอกลอง อนุสาวรีย์หมู และ
                                        โครงสร้างปริศนาเพื่อการใด ในวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม)






          40 วิศวกรรมสาร  ปีที่ 75 ฉบับท 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2565
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45