Page 44 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2565
P. 44

*ผศ.ดร.ศิริพงศ์ พฤทธิพันธุ์ , ผศ.ดร. รัฐภูมิ ปริชาตปรีชา , ดร. ทรงศักดิ์ สุธาสุประดิษฐ 2
                                                                                          2
                                                                     1
                                                        1 อดีตรองผู้ว่าการกลุ่มธุรกิจการซ่อมบ�ารุงรถจักรและล้อเลื่อน การรถไฟแห่งประเทศไทย
                                                        2 ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง


          รถโบกี้ไฟฟ้าก�าลังปรับอากาศ




          (Power Car) ของการรถไฟแห่งประเทศไทย กับการสร้าง


          ขีดความสามารถในการแข่งขันในระบบการขนส่งทางราง

          และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม








































                1. ความเป็นมาของโครงการ



            ปัจจุบันการรถไฟแห่งประเทศไทยก�าลังมีการขยายเครือข่าย  รักษาสิ่งแวดล้อม และค่าความคุ้มทุนที่การรถไฟแห่งประเทศไทยต้อง
          ของเส้นทางรถไฟ ดังจะเห็นได้จากการก่อสร้างโครงการระบบรถไฟ  แบกรับภาระต้นทุนที่สูงมาก อีกเหตุปัจจัยที่การรถไฟแห่งประเทศไทย
          ชานเมืองสายสีแดง การสร้างทางคู่ รถไฟความเร็วสูง และโครงการ  ต้องสานรับนโยบายที่สอดคล้องกับความร่วมมือระหว่างประเทศ

          รถไฟทางไกลหลายเส้นทางตามกรอบยุทธศาสตร์การพัฒนาโครง  และนโยบายและแผนระดับชาติที่เกิดขึ้นใหม่ ได้แก่ ความตกลงปารีส
          ข่ายคมนาคมทั่วประเทศ อย่างไรก็ตาม การประกอบการของการ  ยุทธศาสตร์ชาติ แผนการปฏิรูปประเทศ (พ.ศ. 2560 – 2579) ในเรื่อง
          รถไฟนั้นกับเป็นงานที่มีรายละเอียดค่อนข้างซับซ้อนต้องบูรณา  สิ่งแวดล้อมการลดภาระเรือนกระจก โดยมียุทธศาสตร์ชาติเป็นตัว
          การทั้งระบบ ทั้งในเรื่องความสิ้นเปลืองของการใช้พลังงาน การ  ก�าหนดการด�าเนินงานกิจการในภาคส่วนของกระทรวงคมนาคม







          44
          44 วิศวกรรมสาร  ปีที่ 75 ฉบับท 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2565  วิศวกรรมสาร  ปีที่ 75 ฉบับท 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2565
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49