Page 45 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2565
P. 45

รถโบกี้ไฟฟ้าก�าลังปรับอากาศ  (Power Car) ของการรถไฟแห่งประเทศไทย
                                                          กับการสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันในระบบการขนส่งทางรางและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม



































                                      รูปที่ 1. ความเชื่อมโยงของแผนวิสาหกิจการรถไฟฯกับแผนยุทธศาสตร์ชาติ








              ด้วยสถานการณ์ปัจจุบันที่การรถไฟ  เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และเพื่อให้การเดินทางของผู้โดยสารในระยะทางไกลเป็นไปด้วย
            แห่งประเทศไทยยังคงมีการใช้งานรถจักร  ความสะดวกสบายยิ่งขึ้นนั้น โดยมีเป้าหมายในการปรับปรุงรถด่วน และรถด่วนพิเศษในส่วน

            ดีเซลจ�านวนมาก รวมทั้งขบวนรถโดยสารที่มี  ของการผลิตและจ่ายกระแสไฟฟ้าให้กับรถโดยสาร เพื่อใช้กับระบบปรับอากาศ ระบบไฟฟ้า
            อยู่ซึ่งเรียกว่ารถโดยสารนั่งนอนปรับอากาศ  แสงสว่าง ระบบลมบังคับการ และระบบอ�านวยความสะดวกอื่น ๆ ของขบวนรถ
            ชั้นสอง (บนทป.) ที่ติดตั้งเครื่องยนต์เพื่อ
            ระบบปรับอากาศภายในตัวเองทุกคันอีก
            จ�านวนหนึ่ง โดยแต่ละคันมีความสิ้นเปลือง
            การใช้น�้ามันเชื้อเพลิงในปริมาณมากเมื่อ
            ค�านวณจากระยะทางและเวลาที่วิ่งให้

            บริการ ท�าให้ค่าใช้จ่ายในเรื่องของค่าน�้ามัน
            อะไหล่ การบ�ารุงรักษาเครื่องยนต์มีมูลค่าสูง
            รวมทั้งยังส่งผลให้เกิดความร้อนและยัง
            สร้างมลพิษให้กับสิ่งแวดล้อม ไม่คุ้มค่ากับ
            ค่าโดยสาร ซึ่งการรถไฟแห่งประเทศไทย

            ต้องแบกรับภาระค่าจ่ายของการเดินขบวน
            รถดังกล่าวในเวลาหลายปีผ่านมา ดังนั้น
            การรถไฟฯ จึงมีนโยบายในการปรับปรุงและ
            เพิ่มประสิทธิภาพของขบวนรถโดยสารปรับ     รูปที่ 2. รถโดยสารนั่งนอนปรับอากาศชั้นสอง (บนทป.) ของการรถไฟแห่งประเทศไทย
            อากาศ เพื่อลดการใช้พลังงาน ลดมลภาวะ                          (ที่มา: rotfaithai.com)


                                                                                      ปีที่ 75 ฉบับที่ 4 กันยายน-ธันวาคม  วิศวกรรมสาร 45
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50