Page 60 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2565
P. 60

ส่องเส้นทางพาไทยสู่เป้าหมาย Net Zero


            หากมองเป้าหมายระดับองค์กร ส่วนมากองค์กรขนาดใหญ่ที่  การหมุนเวียนการใช้ CO  นั้นเป็นที่ยอมรับว่าสามารถลดปริมาณของ
                                                                                2
          มีการเก็บข้อมูลการปล่องก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และ/หรือก๊าซ  CO  ที่ปลดปล่อยในระบบได้
                                                                 2
          เรือนกระจก รวมถึงมีแผนการลดการปล่อยอย่างชัดเจนจะมีการ
          ตั้งเป้าหมายดังกล่าว เช่น กลุ่ม ปตท. ตั้งเป้าหมายในการCarbon
          Neutrality ภายในปี 2040 และ Net Zero ภายในปี 2050       Capture & Transport & Storage
            ส�าหรับการบรรลุเป้าหมายระดับบุคคล เช่น ผศ.ดร. ธรณ์      คือหัวใจส�าคัญ

          ธ�ารงนาวาสวัสดิ์ ที่กล่าวใน Carbon Markets Club ว่า “... ผม
          กลายเป็นมนุษย์ไร้คาร์บอนสมใจ เป็น TOP50 ห้าสิบคนแรกของ    Capture - กระบวนการดักจับและการจัดเก็บ CO  นั้นจะเริ่ม
                                                                                                       2
          ไทย…” กระบวนการบรรลุเป้าหมายนี้เกิดจากการวัด และประเมิน  จากการดักจับ CO  ที่ออกมาจากภาคอุตสาหกรรม โดยทั่วไปมักจะ
                                                                            2
          ว่าคน ๆ หนึ่ง มีการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เท่าใดต่อปี และ  มีการปะปนกับก๊าซอื่น ในขั้นตอนนี้การดักจับ CO  ที่ออกมาจะ
                                                                                                     2
          ซื้อคาร์บอน เครดิต เพื่อชดเชยปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์  เกิดขึ้นก่อนถูกส่งต่อไปยังกระบวนการจัดเก็บ
          ที่ปล่อยจากกิจกรรม จะเห็นว่าเป้าหมายระดับบุคคลที่ยกตัวอย่างนี้    Transport - ภายหลังจากกระบวนการจัดเก็บนั้นจ�าเป็นต้อง
          ก็เป็นการบรรลุ Carbon Neutraility ระดับบุคคลประจ�าปีที่วัด  สามารถขนส่งผ่านท่อ (Pipeline) น�าส่งก๊าซแบบพิเศษลงไปใต้
          และซื้อการชดเชยดังกล่าว อย่างไรก็ตามตลาดคาร์บอน เครดิต  พื้นดิน โดยส่วนมากวิธีการนี้มักจะใช้กับการขนส่งในระยะทางไม่เกิน
          ในประเทศยังเป็นภาคสมัครใจ และมีราคาต่อหน่วยที่ไม่สูงมากเมื่อ  1,000 กิโลเมตร ดังแสดงในรูป 1 ในอีกกรณีหนึ่งคือหากพื้นที่ในการ
          เทียบกับต่างประเทศ และในระบบปัจจุบันคาร์บอน เครดิตที่ได้มา  จัดเก็บนั้นอยู่ไกลเกินกว่า 1,000 กิโลเมตร มักใช้วิธีการขนส่งทางเรือ

          อาจยังไม่เป็นที่ยอมรับให้ใช้ชดเชยในบริบทต่างประเทศ  บรรทุกสินค้า ดังแสดงในรูป 2 การขนส่งทางเรือบรรทุกสินค้าจะ
            จากการกล่าวถึงเป้าหมายข้างต้นจะเห็นว่าหากจะบรรลุ  ได้รับความนิยมมากกว่าการขนส่งทางถนน และการขนส่งทางราง
          เป้าหมาย Net Zero นั้น กุญแจส�าคัญอยู่ที่การวัดปริมาณก๊าซ  ที่ทั้งสองรูปแบบดังกล่าวอาจจะติดข้อจ�ากัดทางด้านปริมาณ
          เรือนกระจกที่ปล่อยออกมาได้ การหาแนวทางลดก๊าซเรือนกระจก  การขนส่ง และความปลอดภัยกรณีที่เกิดก๊าซรั่วไหล
          และยิ่งไปกว่านั้นเทคโนโลยีที่จะมาช่วยดักจับ และก�าจัดก๊าซ    นอกเหนือจากการค�านึงเรื่องระยะทางในการขนส่งนั้น การขนส่ง
          คาร์บอนไดออกไซด์ออกจากอากาศจะมาเป็นเทคโนโลยีส�าคัญที่อาจ  CO  ต้องค�านึงถึงความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์อีกด้วย อ้างอิงจาก
                                                                 2
          ท�าให้เราเข้าใกล้เป้าหมาย Net Zero มากขึ้น          รายงานของ IPCC ที่ระบุไว้ว่า ภายใต้ระยะการขนส่งในระยะ 1,000
                                                              กิโลเมตร หากปริมาณของ CO  มีปริมาณที่น้อยกว่า 3 ล้านตัน
                                                                                      2
                                                              ต่อปี ควรใช้การขนส่งแบบท่อแทนการขนส่งทางเรือบรรทุกสินค้า
              เทคโนโลยีการกักคาร์บอนคือทางออก?                (IPCC, 2005) เพราะความท้าทายของการขนส่งนั้นไม่ได้ขึ้นอยู่กับ
                                                              ระยะทางในการขนส่งไปยังพื้นที่จัดเก็บเพียงอย่างเดียว แต่ปัญหา
            หนึ่งในเทคโนโลยีที่ได้รับความสนใจและถูกพูดถึงเป็นจ�านวน  ที่ภาคอุตสาหกรรมก�าลังเผชิญนั้นยังอยู่ที่ค่าใช้จ่ายในการขนถ่ายที่

          มากคือ Carbon Capture and Storage (CCS) และ Carbon  ต้องมีการควบคุมทั้งอุณหภูมิ และความดันให้อยู่ในสภาวะที่เหมาะ
          Capture and Utilisation (CCUS)                      สมตลอดเวลาในการขนส่ง อีกทั้งยังต้องระมัดระวังเรื่องการรั่วไหล
            โดยทั้งกระบวนการ CCS และ CCUS นั้นเป็นกระบวนการ  ของก๊าซ CO  อีกด้วย
                                                                        2
          ดักจับ (Capture) CO  ที่เกิดจากกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์โดย    Storage - ส�าหรับในขั้นตอนที่ส�าคัญคือการจัดเก็บ CO  นั้น
                           2                                                                                2
          เฉพาะในภาคอุตสาหกรรมมาจัดเก็บ (Storage) ไว้ใต้พื้นดิน เพื่อ  สามารถท�าได้ทั้งแบบ ใต้ผิวดินทั้งแบบ onshore และ offshore
          ไม่ให้เกิดการปลดปล่อยคืนสู่ชั้นบรรยากาศ แต่ความแตกต่างของ  ซึ่งเป็นการจัดเก็บใต้ผิวดินที่มีความลึกในช่วง 800 - 1,000 เมตร

          กระบวนการทั้งสองนั้นจะอยู่ที่ CCS จะเป็นกระบวนการจัดเก็บ CO2   ซึ่งเป็นระดับความลึกที่มีความเหมาะสมด้านความปลอดภัยในการ

          แบบถาวร ในขณะที่ CCUS จะค�านึงถึงการน�าเอา CO2แปรรูปกลับ  จัดเก็บ และสะดวกในการดึง CO  กลับมาใช้ และอีกรูปแบบการ
                                                                                       2
          มาเป็นผลิตภัณฑ์อื่น ๆ เช่นพลังงานเชื้อเพลิง หรือ สารตั้งต้นส�าหรับ  จัดเก็บคือการจัดเก็บ CO  ในมหาสมุทร มักจะจัดเก็บในระดับความ
                                                                                 2
          ผลิตภัณฑ์ทางเคมีต่าง ๆ ซึ่งถือได้ว่า CCUS เป็นอีกขั้นหนึ่งของ  ลึกต�่ากว่า 1,000 เมตรขึ้นไป และในบางกรณีมักนิยมเก็บที่บริเวณ
          กระบวนการ CCS แต่อย่างไรก็ตามทั้งสองกระบวนการจัดเก็บ และ  ก้นมหาสมุทร



          60 วิศวกรรมสาร  ปีที่ 75 ฉบับท 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2565
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65