Page 59 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2565
P. 59

ส่องเส้นทางพาไทยสู่เป้าหมาย Net Zero


                  เช่นเดียวกันกับประเทศไทยที่พบปัญหา    หมุดหมายที่ส�าคัญต่อมาคือ การประชุม COP26 ในปี ค.ศ. 2021 ที่เมือง
                น�้าท่วมฉับพลันในระยะเวลาไล่เลี่ยกัน   กลาสโกว์สกอตแลนด์ โดยมีสหราชอาณาจักรเป็นเจ้าภาพ จากความเร่งด่วนในการ
                โดยมีรายงานการเกิดสถานการณ์อุทกภัย  ลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และความมุ่งมั่นในการควบคุม
                ในประเทศกว่า 59 จังหวัด ซึ่งกินเวลากว่า  การการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิเฉลี่ยของโลกท�าให้นานาประเทศต่างประกาศเป้าหมาย
                1-3 เดือน ส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตความ  มุ่งสู่ความเป็นกลางทางคาร์บอน (Carbon Neutrality) และการปล่อยก๊าซเรือน

                เป็นอยู่ ภาคธุรกิจ และภาคเกษตรกรรม   กระจกสุทธิเป็นศูนย์ (Net Zero) หากมองที่เป้าหมายระดับโลกแล้ว การจ�ากัด
                  ประเด็นดังกล่าวถือเป็นภาวะฉุกเฉิน  อุณหภูมิเฉลี่ยไม่ให้เพิ่มขึ้นเกิน 1.5 องศาเซลเซียส ภายใน ค.ศ. 2050 โลกเราต้อง
                ที่นานาประเทศทั่วโลกต้องหันมาร่วมมือ  บรรลุเป้าหมายการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์
                กันเพื่อยับยั้ง และเตรียมพร้อมรับมือกับ
                ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพ
                ภูมิอากาศ แต่การที่จะท�าให้ประชาคมโลก     เป้าหมาย Net Zero หมายความว่าอย่างไร?

                นั้นเห็นชอบ หรือเดินไปในทิศทางเดียวกัน
                นั้นไม่ง่าย เพราะประเทศก�าลังพัฒนาอาจ    นอกจากแนวคิดเรื่องการตั้งเป้าหมาย Net Zero หรือ “การปล่อยก๊าซเรือน
                เรียกร้องสิทธิในการใช้เชื่อเพลิงฟอสซิล  กระจกสุทธิเป็นศูนย์” แล้ว แนวคิดเรื่องการตั้งเป้าหมาย Carbon Neutrality หรือ
                เพื่อการพัฒนาประเทศ ในขณะเดียวกัน  “ความเป็นกลางทางคาร์บอน” ก็เป็นที่พูดถึงเช่นกัน ในหลาย ๆ บริบทค�าว่า Net
                ประเทศพัฒนาแล้วก็อาจไม่อยากแบกภาระ  Zero และ Carbon Neutrality ยังถูกใช้อย่างคลาดเคลื่อน หรือถูกใช้แทนกัน ทั้ง ๆ

                ต้นทุนพลังงานที่เพิ่มขึ้น  ความจ�าเป็น  ที่ทั้งสองค�ามีความหมายที่ต่างกันมาก
                ในการร่วมมือ และต่อรองดังกล่าวท�าให้เกิด    เป้าหมาย Carbon Neutrality สามารถบรรลุได้โดย การลดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
                การประชุมภาคีอนุสัญญาสหประชาชาติ   โดยต้องเริ่มจากประเมินปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ของหน่วยที่
                ว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ  สนใจ หลังจากความพยายามลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์โดยการเพิ่ม
                หรือ United Nation Climate Change  ประสิทธิภาพการใช้พลังงาน หรือการเปลี่ยนมาใช้พลังงานสะอาดจนไม่สามารถ
                Conference of the Parties (COP) ขึ้น  ลดได้แล้ว หน่วยนั้น ๆ จะมีการชดเชยปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ส่วนเกิน
                เพื่อวางแผนยุทธศาสตร์ในการปล่อยก๊าซ  (Offset) โดยการใช้คาร์บอนเครดิตทั้งจากกิจกรรมการลดการปล่อยก๊าซ

                เรือนกระจก การช่วยเหลือทางด้านเงินทุน  คาร์บอนไดออกไซด์ และการดักจับ และก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
                ส�าหรับประเทศที่ได้รับผลกระทบ เป็นต้น    ส่วนเป้าหมาย Net Zero นั้น จะมีแนวคิดที่เข้มข้นกว่า หากหน่วยหนึ่ง ๆ จะ
                  หมุดหมายหนึ่งที่ส�าคัญในการขับเคลื่อน  สามารถพูดได้ว่าบรรลุ เป้าหมาย Net Zero ได้แล้ว ต้องเริ่มจากประเมินปริมาณ
                เป้าหมายการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก  การปล่อยก๊าซเรือนกระจกประเภทอื่นนอกจากก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ด้วย
                เพื่อชะลอผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง  หลังจากที่พยายามลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจนไม่สามารถลดได้แล้ว หน่วยนั้น ๆ

                สภาพภูมิอากาศ คือ COP21 ในปี ค.ศ.  จะมีการก�าจัดปริมาณก๊าซเรือนกระจกส่วนเกิน  โดยการดักจับ และกักเก็บ
                2015 จัดที่เมืองปารีส ประเทศฝรั่งเศส ซึ่ง  ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่เป็นโครงการระยะยาวเท่านั้น เช่น การดักจับ และ
                ได้เกิดข้อตกลงที่เรียกว่าความตกลงปารีส  กักเก็บก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากภาคป่าไม้ หรือการดักจับ และกักเก็บก๊าซ
                (Paris Agreement) ที่ประชาคมโลกตั้ง  คาร์บอนไดออกไซด์โดยใช้เทคโนโลยีการดักจับและกักเก็บโดยตรง
                เป้าหมายร่วมกันในการควบคุมการเพิ่มขึ้น    จะเห็นว่าการตั้งเป้าหมาย Carbon Neutrality และ Net Zero มีการท�า
                ของอุณหภูมิเฉลี่ยของโลกไม่ให้สูงขึ้นเกิน  ในหลายระดับ ไม่ว่าจะเป็นระดับประเทศ ระดับองค์กร หรือระดับบุคคล อย่าง

                2 องศาเซลเซียส และพยายามตั้งเป้าหมาย  ประเทศไทยเองก็ได้มีการประกาศความมุ่งมั่นใน COP26 ว่าจะบรรลุเป้าหมาย
                ที่ท้าทายขึ้นว่าจะพยายามไม่ให้อุณหภูมิเพิ่ม  Carbon Neutrality ภายในปี 2050 และบรรลุเป้า Net Zero ภายในปี 2065
                ขึ้นเกิน 1.5 องศาเซลเซียส







                                                                                      ปีที่ 75 ฉบับที่ 4 กันยายน-ธันวาคม  วิศวกรรมสาร  59
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64