Page 62 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2565
P. 62
ส่องเส้นทางพาไทยสู่เป้าหมาย Net Zero
Carbon Capture and Utilisation (CCUS) ณ ราคาเดือนธันวาคม 2565) โดยจะท�าการซื้อขายกันในหน่วย
คาร์บอนเครดิต ทั้งนี้ 1 หน่วยคาร์บอนเครดิตมีค่าเท่ากับปริมาณ
CO 1 ตัน ซึ่งถือเป็นต้นทุนที่ทางภาคอุตสาหกรรมต้องแบกรับหาก
2
ความท้าทายที่ต้องเผชิญ ต้องการเข้าสู่หมุดหมาย Net zero
แม้ว่าเทคโนโลยี CCS และ CCUS จะถูกพูดถึงมาเป็นระยะเวลา
มากกว่า 10 ปีแล้ว แต่การน�าเอาเทคโนโลยีดังกล่าวมาใช้นั้นเกิด ข้อวิพากย์เกี่ยวกับเทคโนโลยี CCS
ความท้าทายในเชิงธุรกิจ และท�าให้การซื้อขายคาร์บอนเครดิตนั้น และ CCUS
ยังเกิดข้อจ�ากัดเนื่องจากต้นทุนในกระบวนการดักจับ การขนส่ง และ
การจัดเก็บนั้นมีราคาสูง ส่งผลให้มูลค่าคาร์บอนเครดิตสูงไปด้วย ถึงแม้เทคโนโลยี CCS และ CCUS จะน�าเสนอแนวคิดที่ท�าให้
ราคาในการซื้อขายคาร์บอนนั้นจะมีความแตกต่างกันออกไปในแต่ละ เส้นทางสู่ Net Zero ดูจะมีความเป็นไปได้ แต่เทคโนโลยีดังกล่าว
ภูมิภาค อ้างอิงจากราคาปัจจุบันจากเว็บไซต์ EU Carbon Permit ยังมีข้อจ�ากัด และข้อวิพากย์อยู่ เช่น โครงการลงทุนเพื่อพัฒนาการ
ซึ่งเป็นหนึ่งในเว็บไซต์หลักที่มีการซื้อขายคาร์บอนเครดิตในภูมิภาค ดักจับคาร์บอนไดออกไซด์ยังอยู่ในขั้นตอนพัฒนา และการพัฒนา
ยุโรป (Carbon credit) ได้แสดงถึงราคาปัจจุบันของ 1 คาร์บอน และทดสอบนี้ใช้เงินลงทุนจ�านวนมาก นอกจากนี้เทคโนโลยีดักจับ
เครดิตว่ามีราคาอยู่ที่ประมาณ 87.880 ยูโร หรือ 3,260 บาท (อ้างอิง คาร์บอนเองมีกระบวนการที่ใช้พลังงานสูง ท�าให้เกิดการตั้งค�าถามว่า
รูปที่ 3 มูลค่าการซื้อขายคาร์บอนเครดิตในช่วงเดือนมิถุนายน ถึงเดือนธันวาคม 2565 (อ้างอิงจากเว็บไซต์ Trading economics ณ วันที่ 2 ธันวาคม 2565)
62 วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับท 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2565