Page 29 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 78 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2568
P. 29

การใช้ Raspberry Pi ในงานอุตสาหกรรมร่วมกับ AI






              ยกตัวอย่างการควบคุมการเคลื่อนที่อัตโนมัติของหุ่นยนต์
            ขนาดเล็ก (Micro Mouse) ที่ใช้ AI แบบ Reinforcement
            Learning (RL) ที่ใช้ Q-learning เพื่อหาเส้นทางที่เร็วที่สุดไปยัง
            เป้าหมายในเขาวงกต(Maze) ขนาด 4x4 โดยมีการก�าหนดสถานะ
            (State, S) ของหุ่นยนต์เป็นต�าแหน่งของเมาส์ในเขาวงกต (พิกัด

            (x, y))  หุ่นยนต์สามารถเคลื่อนที่ได้เพื่อก�าหนดการกระท�า (Action,
            A) เป็นการเคลื่อนที่: ขึ้น (), ลง (), ซ้าย (), ขวา () ทั้งนี้
            แต่ละการกระท�าจะได้รับรางวัล (Reward, R) ดังนี้ ถ้าถึงเป้าหมาย
            (Goal) จะได้ +100 คะแนน ถ้าชนก�าแพงจะถูกลดคะแนนลง -10
            คะแนนและถ้ามีการขยับไปช่องอื่นจะถูกลดคะแนนลง -1
              การเรียนรู้ของ Micro Mouse อาจจะเป็นแบบเดินไปเรื่อย ๆ

            ซ�้า ๆ และอัปเดต Q-table จนกว่าจะหาทางที่ดีที่สุดโดยใช้
            Exploration vs. Exploitation เพื่อทดลองเส้นทางใหม่ และถ้า
            เจอเส้นทางที่ดีกว่า จะค่อย ๆ เพิ่มค่า Q  การเรียนรู้ของ Micro
            Mouse ถ้าก�าหนดเป็นนโยบายของ แบบ “วิ่งชิดซ้ายตลอด”
            หมายความว่า AI จะเลือกเลี้ยวซ้ายให้มากที่สุดก่อน ถ้าซ้ายไปไม่ได้  https://youtube.com/shorts/7FLbP8fRc_E?feature=share

            ถึงจะเลือกเดินหน้า ถ้าทั้งซ้ายและเดินหน้าไปไม่ได้ถึงจะเลี้ยวขวา
            หรือถอยหลังเป็นทางเลือกสุดท้าย ซึ่งครั้งแรก ค่า Q จะยังต�่าเพราะ
            AI ยังไม่รู้เส้นทาง แต่เมื่อเดินไปเรื่อย ๆ ซ�้า ๆ หลายรอบ ค่า Q
            ของเส้นทางที่เร็วที่สุดจะเพิ่มขึ้นและ AI จะเลือกเส้นทางที่ Q สูงสุด
            (ไปถึงเป้าหมายเร็วที่สุด) ซึ่งสุดท้าย AI จะเดินตามนโยบาย
            “ชิดซ้าย” จนกว่าจะถึงเป้าหมาย
                                                               ภาพที่ 7: การเคลื่อนที่ของหุ่นยนต์ขนาดเล็ก (Micro Mouse) ที่ใช้ ที่ใช้
                                                                      Q-learning เพื่อหาเส้นทางที่เร็วที่สุดไปยังเป้าหมาย
                                                                 ในเขาวงกตขนาด  4x4 (สามารถเข้าดูวิดิโอการเคลื่อนที่ของหุ่นยนต์
                                                                              ขนาดเล็กได้จาก QR Code)



              การปรับปรุงกระบวนการ (Process Optimization) ที่อาจ การขนย้ายสิ่งของวัสดุหรือใช้ในการปฏิบัติงานแทนมนุษย์ในพื้นที่

            ไม่มีความยืดหยุ่นและประสิทธิภาพไม่สูง AI สามารถวิเคราะห์ ที่มีความเสี่ยง  อีกทั้งหุ่นยนต์ยังสามารถเคลื่อนที่หลบหลีก
            ข้อมูลการผลิตเพื่อเสนอแนวทางการปรับปรุงกระบวนการที่ลด สิ่งกีดขวางได้เองโดยวิเคราะห์หาเส้นทางและวางแผนการเคลื่อนที่
            ความสูญเปล่า ปรับปรุงการไหลของงานในสายการผลิตและเพิ่ม ท�าให้การปรับปรุงกระบวนการมีความยืดหยุ่นมากขึ้น ตัวอย่างเช่น
            ประสิทธิภาพ ช่วยให้การผลิตเป็นไปอย่างยั่งยืนมากขึ้น ตัวอย่าง ระบบที่ประกอบไปด้วยหุ่นยนต์และสิ่งกีดขวาง 2 สิ่ง โดยมีการใช้
            การปรับปรุงกระบวนการ (Process Optimization) ปัจจุบัน  กล้อง Webcam เพื่อน�าเข้าข้อมูลภาพหุ่นยนต์และสิ่งกีดขวางมา
            หุ่นยนต์ได้เข้ามามีบทบาทและยังมีการน�าไปประยุกต์ใช้งานกัน ประมวลผลเพื่อระบุต�าแหน่ง จากนั้นจะวิเคราะห์หาเส้นทางแบบ

            อย่างแพร่หลายในด้านอุตสาหกรรม อ�านวยความสะดวกสบายใน A-Star Algorithm ไปยังจุดหมาย














             วิศวกรรมสาร l ปีที่ 78 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2568                                          29
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34