Page 31 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 78 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2568
P. 31

การใช้ Raspberry Pi ในงานอุตสาหกรรมร่วมกับ AI






                                                ตัวอย่างการคาดการณ์ราคาวัตถุดิบการคาดการณ์ความต้องการสินค้า หรือการบ�ารุง
                                              รักษาเชิงคาดการณ์ (Predictive Maintenance) โดยใช้ Raspberry ร่วมกับโมเดล AI
                                              สามารถวิเคราะห์ข้อมูลจากเซ็นเซอร์ เพื่อคาดการณ์การเสียหายของเครื่องจักรและ
                                              วางแผนการบ�ารุงรักษา เป็นการสร้างข้อมูลตัวอย่าง (Sine wave + noise) จ�าลองข้อมูล
                                              จากเซ็นเซอร์ที่ใส่ noise เข้าไปเล็กน้อย จากนั้นสร้างล�าดับข้อมูลส�าหรับ RNN ซึ่งเป็น AI

                                              การเรียนรู้แบบมีผู้สอน (Supervised Learning) โดยก�าหนดพารามิเตอร์และใช้ข้อมูล
                                              50 จุดในการท�านาย ที่มีการ Reshape ข้อมูลให้อยู่ในรูป (samples, timesteps,
                                              features) จากนั้นสร้างโมเดล RNN แบบ LSTM ท�าการคอมไพล์โมเดล เทรนโมเดล และ
                                              ท�านายค่าต่อไปจนถึงจุดสิ้นสุดที่ก�าหนด การเรียนรู้จะหยุดเมื่อค่าความผิดพลาดที่ท�านาย
                                              เข้าใกล้ศูนย์
























                                                ภาพที่ 10: เป็นจ�าลองข้อมูลจากเซ็นเซอร์และคาดการณ์การด้วยโมเดล RNN (ใช้ LSTM) ของ
                                                                        Sine wave + noise


                                                ตัวอย่างต่อมาเป็นการสร้างข้อมูลแบบ Random Walk จ�าลองข้อมูลจากเซ็นเซอร์
                                              ท�าการสุ่มค่าเพิ่มขึ้นและลดลงโดยสร้างค่าแบบสะสมร่วมกับการใช้ Gaussian Filter เพื่อ
                                              ลดความผันผวน เตรียมข้อมูลส�าหรับ RNN โดยการ Reshape เป็น (samples, timesteps,
                                              features) จากนั้นแบ่งชุดข้อมูลเป็น train และ test สร้างโมเดล RNN (ใช้ LSTM)  ท�าการ
                                              คอมไพล์โมเดล เทรนโมเดลฝึกโมเดล และท�านายค่าจากจุดที่ 1,001 ถึง 1,100 แล้วแสดง
                                              ผลลัพธ์ดังภาพซึ่งท�าให้สามารถคาดการณ์การเสียหายของเครื่องจักรและวางแผนการบ�ารุง

                                              รักษาในอนาคตได้จากข้อมูลเซ็นเซอร์ที่บันทึกไว้



















                                                           ภาพที่ 11: การคาดการณ์การด้วยโมเดล RNN (ใช้ LSTM)



             วิศวกรรมสาร l ปีที่ 78 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2568                                          31
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36