Page 43 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 78 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2568
P. 43
ตอนที่ ๑๒ จากเขียนแบบวิศวกรรม และคอมพิวเตอร์พื้นฐาน ถึง BIM และ AI ตอนที่ ๑
จากการฉาย (Projection) ส่วนใดส่วนหนึ่งของวัตถุ จาก Elevation และเมื่อเกิดจุดใหม่ ทุกวันนี้ มี Computer Assist Learning -
ในภาพ ให้ (ลากเส้น) ฉายจากจุดนั้น ๆ ขนานแกน Isometric พิกัดใหม่ของวัตถุ CAL มีบทเรียน On - line สือการเรียน
เกิดจากเส้นฉายตัดกัน หรือให้ผู้เรียนคิดถึงหลักปฏิบัติของงานวิศวกรรม ที่ต้องแข็งแรง หลากหลายรูปแบบ ให้เลือกเรียนรู้ตามความ
และประหยัดจริง เช่น รูปแผ่นคลี่ (Development) จะต้องเผื่อตะเข็บไว้เชื่อม หรือยึด สนใจ มีอัจฉริยะเทียม (Artificial Intelligence -
ด้วยวิธีอื่น โดยอยู่ในต�าแหน่งที่ท�างานสะดวก แข็งแรง และประหยัด AI) ที่เชื่อว่า “ถามได้ทุกเรื่อง” ดูเหมือนมนุษย์
แทบจะหมดความจ�าเป็น บางคน โต้แย้ง
ว่า “หากไม่ต้องมีมนุษย์สอน ก็ไม่จ�าต้อง
มีมนุษย์เรียน หรือโลกนี้ ไม่จ�าต้องมีมนุษย์
ปล่อยให้หุ่นยนต์ มีชีวิตแบบ Automated
ไม่ต้องมีใครบังคับกลไก” ใช้ชีวิตอยู่บน
โลกนี้กันโดยล�าพัง มนุษย์กลายเป็นส่วนเกิน
ฟังแล้วเหมือนภาพยนต์ Sci-fi ในอดีต ก�าลัง
จะเป็นความจริง ข้าพเจ้าขออนุญาตไม่สรุป
ทุกท่านจินตนาการ หรือคาดคะเนอนาคต
ตามแต่ที่ท่านคิดว่าจะเป็นไป
สู่การเขียนแบบด้วย
คอมพิวเตอร์ จาก
2 – D, 3 – D, 4 -D
และ BIM สุดท้าย คือ
รูปที่ ๙ ตัวอย่างเครื่องมือเขียนแบบ ที่ยังพบใช้ในการท�างานเสมอ หรือตลอดไป
สิ่งใดเล่า ?
หลายสิบปีแล้ว ที่ Free - hand Sketch
และการเขียนแบบโดยใช้คอมพิวเตอร์
มาแทนที่ Free - hand Sketch และการ
เขียนแบบโดยใช้เครื่องมือเขียนแบบ
มี Software มากมายให้เลือกใช้ แต่ผู้เรียน
วิศวกรรมศาสตร์ ยังต้องเรียนเขียนแบบ
วิศวกรรม และเป็นวิชาพื้นฐานเสียด้วย
เพราะไม่ว่าจะใช้คอมพิวเตอร์ หรือเครื่องมือ
เขียนแบบ “ทั้งสองวิธียังต้องใช้คน
หากไม่ต้องใช้คน โลกก็ไม่จ�าต้องมีมนุษย์”
คือ คิดค�านวณ วางแผน ออกค�าสั่งให้
คอมพิวเตอร์เขียน หรือเขียนเองด้วยเครื่อง
มือเขียนแบบ ต้องตรวจสอบ หรือแก้ไข
รูปที่ ๑๐ ตัวอย่างสอนเขียนแบบวิศวกรรมเชิงสาธิต (อนุเคราะห์โดย ผศ. ดร.นท แสงเทียน) ข้อผิดพลาดเอง
วิศวกรรมสาร l ปีที่ 78 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2568 43