Page 40 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 78 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2568
P. 40
ตอนที่ ๑๒ จากเขียนแบบวิศวกรรม และคอมพิวเตอร์พื้นฐาน ถึง BIM และ AI ตอนที่ ๑
รูปที่ ๕ พื้นฐานตัวเลขอารบิค 0 - 9 ชนิดเขียนด้วยมือกับดิจิทัล
(อนุเคราะห์โดย สัจจา จันทร์รักษา)
แต่ต่างต�าแหน่ง หรือ Grid Line ในรูป
เดียวกัน เพื่อประหยัดพื้นที่ หรือเวลาเขียน
แบบ งานโครงสร้างระบบระบายน�้า หรือ
ชลประทาน นิยมใช้ Broken Section
(ภาษาคนท�างานเรียกง่าย ๆ ว่า “แบบ
แหวะอก”) และบางกรณี จะแสดงรูปด้าน
ร่วมกับรูปตัด เช่น รูปด้านแสดงทั้งมิติของ
ถังเก็บน�้า รายละเอียดเหล็กเสริม ทางดิ่ง
และทางราบ หรือแสดงรายละเอียดเหล็ก
เสริมที่ผิวด้านใกล้ หรือรายละเอียดเหล็ก
เสริมที่ผิวด้านไกล (Near & far sides)
ในรูปเดียวกัน ทั้งนี้ เพื่อประหยัดพื้นที่ หรือ
เวลาเขียนแบบ เช่นกัน
ภาพ Isometric อาจจ�าเป็นส�าหรับ
งานวิศวกรรมโยธา หรือแบบโครงสร้าง
เพื่อเข้าใจงานอื่น ๆ เช่น ระบบท่อ ของงาน รูปที่ ๖ เนื้อหาโดยประมาณของ Engineering Drawing
วิศวกรรมระบบ (Mechanical & Electricl -
M & E) มักมีความลาดเอียง และระบบ Tive” ซึ่งจ�าเป็นส�าหรับวิศวกรรมหลายสาขา หรือทุกสาขา อาจ
เหล่านั้นมักใช้ หรือเขียนแบบเป็น Isometric รวม (สถาปัตยกรรมด้วย) หายไปจากแผนการเรียนทุกหลักสูตร
View ส่วนทัศนียภาพ (Perspective) อาจ กว่ายี่สิบปีแล้ว วิชานี้ ว่าด้วยเรขาคณิตของจุด (Point) เส้น (Line)
ไม่จ�าเป็นส�าหรับวิศวกรรมศาสตร์ แต่มี และระนาบ (Plane) คือ จุด กับจุด (หรือกับเส้น หรือกับระนาบ)
ประโยชน์ที่จะเข้าใจ หรือท�างานร่วมกับ เส้น กับเส้น (หรือ เส้นกับระนาบ) หรือระนาบ กับระนาบ ซึ่งบาง
วิชาชีพอื่น เช่น สถาปัตยกรรมศาสตร์ (โดย กรณี เช่น ระหว่างเส้นกับเส้น หรือระหว่างเส้นกับระนาบ อาจ
เฉพาะวิศวกรโยธา ท�างานร่วมกับสถาปนิก) ต้องหาค�าตอบ (อาทิ อยู่ห่างกัน หรือขนานกัน หรือท�ามุมกัน ตัด
และย่อมท�าให้ Free - hand Sketch ดูเป็น หรือเจาะทะลุกัน ระยะห่างน้อยที่สุด มุมระหว่างเส้น หรือระนาบ
ธรรมชาติ สวยแปลกตา ต�าแหน่งเจาะทะลุ หรือรอยตัด) ท่านอ่านแล้วดูจะปวดหัว เพราะ
ส่วน Descriptive Geometry ปัจจุบัน ละหน้าที่นี้ให้กับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ซึ่งสามารถดู
(บ้างเรียก เรขาคณิตวิเคราะห์ แต่ผู้เรียน ภาพสองมิติ หรือภาพสามมิติ สามารถหมุนภาพระนาบ หรือวัตถุ
วิศวกรรมศาสตร์ เรียกย่อ ๆ ว่า “ตีฟ - รอบแกนใด ๆ และโปรแกรมค�านวณระยะ หรือมุมให้ได้อย่าง
40 ปีที่ 78 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2568 l วิศวกรรมสาร