Page 42 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 78 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2568
P. 42

ตอนที่ ๑๒ จากเขียนแบบวิศวกรรม และคอมพิวเตอร์พื้นฐาน ถึง BIM และ AI ตอนที่ ๑






             ก่อนนี้ งาน Free - hand Sketch และเขียนแบบ มีทั้ง     ในอดีต เขียนแบบแล้วข้อผิดพลาดไม่มาก ลบแก้ไขได้
          ใช้ดินสอ และปากกา โดยดินสอส�าหรับงานเขียนทั่วไป ทั้งเขียน  (หากเขียนด้วยดินสอ ใช้ยางลบดินสอ แต่หากลงหมึก ก็ต้องขูด
          บนกระดาษ หรือไข จะมีตั้งแต่เบอร์ 8H 7H 6H 5H 4H 3H 2H  ด้วยใบมีด และใช้ยางลบหมึกแบบใส หรือสีด�า ลบให้สะอาด)
          H F HB B 2B 3B 4B 5B 6B 7B 8B และ 9B ทั้งนี้ H คือ Hard -   แต่หากผิดพลาดมากมาย หรือจัดวางรูปไม่ลงตัว ฉีกทิ้งเขียนใหม่
          ยิ่งเบอร์มาก ไส้ยิ่งแข็ง ยามเขียนต้องออกแรงกดมากขึ้น หากลบแล้ว จะง่ายกว่า วิศวกรยุคก่อนนี้ จึงถนัด หรือสามารถแก้ไขแบบเล็ก ๆ น้อย ๆ
          จึงมักเกิดร่องรอยมากขึ้นด้วย ส่วน B คือ Black - ยิ่งเบอร์มาก ไส้ยิ่ง ได้เอง ไม่ต้องเสียเวลาพึ่งพาคนเขียนแบบ
          อ่อน ไม่ต้องใช้น�้าหนักมือมาก แต่สียิ่งด�าเข้มมากขึ้น หากลบแรง ๆ      ทุกวันนี้ เครื่องมือเขียนแบบ ที่แม้จะดูเหมือนหมดความ

          มักจะปรากฏคราบสกปรก ดินสอ HB จึงเป็นดินสอ ที่มีไส้ และ จ�าเป็น กลับยังเป็นอมตะเสมอ หรือตลอดไป โดยเฉพาะไม้สเกล
          ความเข้มพอดีกัน เป็นดินสอที่เราคุ้นเคย และใช้ในชีวิตประจ�าวัน (เรียกง่าย ๆ ว่า ไม้สามเหลี่ยม มีทั้งขนาดเล็กพกพาง่ายยาวหกนิ้ว
          ตั้งแต่เรียนชั้นประถม ระหว่าง HB และ B มีไส้เบอร์ F ไส้แข็งกว่า  หรือขนาดปกติยาวหนึ่งฟุต) ไม้บรรทัด ซึ่งมีทั้งหน่วยอังกฤษ - นิ้ว
          HB ใช้เขียนแบบ จะรักษาความสะอาดได้ง่านกว่า นอกเหนือจาก หุน (หนึ่งในแปดของนิ้ว) และหน่วยเมตริก (เซ็นติเมตร) มีทั้งขนาด
          นั้น จะมีไส้ดินสอระหว่างเบอร์ 8B และ 9B คือ EX-EXB (Extra -  เล็ก ยาวหกนิ้ว (๑๕ เซ็นติเมตร) หากมีบอกมุม (องศา) และสเกลเย้
          Extra Black ปัจจุบันใช้ย่อ EE) ซึ่งใช้กับงานศิลป งานเขียนแบบ ก็คือ Protractor นั่นเอง มีทั้งไม้โปรแทรกเตอร์ยาวหกนิ้ว (ก่อนนี้
          ปกติ จะใช้ดินสอระหว่าง 4H ถึง 2B เป็นส่วนใหญ่      นิสิตนักศึกษา นิยมพกโปรแทรกเตอร์ ที่มีโลโก้ คณะ หรือสถาบัน
             ก่อนยุคที่จะมีปากกาเขียนแบบหลากหลายเบอร์ เคยมีปากกา  ตนเอง ถือเป็นของสะสม Rare item) ไม้โปรแทรกเตอร์กลม
          ชนิดจุ่มหมึกเขียนเพียงอันเดียว คล้าย ปากกาคอแร้ง - Dip pen  หรือครึ่งวงกลม วิศวกรหลายคน พกพาไม้บรรทัดยาวชนิดพับได้

          ที่ใช้คัดภาษาอังกฤษ ที่ต้องใช้น�้าหนักมือประกอบ (ขึ้นเบา ลงหนัก  บางคนท�าขึ้นเอง (เรียก “ไม้วา” แต่ไม่จ�าต้องยาวหนึ่งวา โดย
          หากเคยเรียนโรงเรียนฝรั่งสมัยก่อนจะทราบดี) ระหว่างเขียน ต้อง ทั้งสี่ขอบแบ่ง Spacing ใช้งาน  เช่น @๐.๑๐ ๐.๒๐ ๐.๓๐ ๐.๔๐
          มีกระดาษซับหมึกที่เขียนแล้วให้แห้ง ปากกา หากจุ่มหมึกมากไป   ... เมตร  @๐.๑๒๕ ๐.๒๕ ๐.๓๗๕ ๐.๕๐ ... เมตร @๐.๑๕ (๐.๓๐
          มีโอกาสหยดเปื้อนกระดาษ หากจุ่มน้อยไป เส้นก็ขาดตอน ปากกา ๐.๔๕ ๐.๖๐ ... เมตร เพื่อเอาไว้บอกช่าง หรือคนงานจัดเรียง
          เขียนแบบชนิดจุ่มหมึก ซับซ้อนขึ้น คือจะมี Screw ปรับอัตรา  เหล็กเสริม นั่นเอง) หลายคนสะดวกพก และใช้ตลับเมตร หรือ
          การไหลของหมึก ให้ขนาดเส้นบาง หรือหนา ต้องหัดปรับให้แม่น ทุกวันนี้ หลายคนเปลี่ยนไปใช้เครื่องวัดระยะอีเล็กทรอนิกส์แล้ว
          ตั้งแต่สมัยเรียน หรือเริ่มเขียนแบบ (รูปที่ ๘) ภายหลัง มีปากกา (รูปที่ ๙) เฉพาะผู้ที่ท�างานละเอียด เท่านั้น ที่จะพกพา Vernier

          เขียนแบบชนิดบรรจุหมึก ขนาดเส้นต่าง ๆ กัน (อาทิ ๐.๑๐ ๐.๑๓  Calliper หรือ Micro Meter
          ๐.๑๘ ๐.๒๐ ๐.๒๕ ๐.๓๐ ๐.๓๕ ๐.๔๐ ๐.๕๐ ๐.๗๐ ๐.๘๐ และ
          ๑.๐๐) ทั้งผู้เรียน และวิศวกรสะดวกขึ้น แต่ก็จ่ายแพงกว่าเดิม
          บางคนชอบเพียงพกพาได้โก้ หลายคน ใช้ Sketch ภาพได้สวยงาม      คนสอนเขียนแบบ ก็หมดความ
          และสะดวกขึ้น
                                                                 จ�าเป็นเช่นกัน ใช่ หรือไม่?


                                                                ก่อนนี้ หลายคนว่า ผู้สอนเขียนแบบวิศวกรรม เหมือนมีกรรม

                                                             หรือต้องค�าสาป เพราะต้องเริ่มต้นสอน และฝึกฝนคนที่ไม่เคย
                                                             เขียนแบบ หรือไม่รู้อะไรเลย จนสามารถจะเรียนวิศวกรรมศาสตร์
                                                             ได้ (น้อยคนนัก ที่จะมีพื้นฐานเขียนแบบจากชั้นมัธยม หรือเรียนรู้
                                                             ฝึกฝนเอง) บางคนเชื่อว่า คนสอนเขียนแบบ มักถูกคัดสรรมาแล้ว
                                                             เพื่อท�างานที่ไม่ใคร่จะมีใครอยากท�า ต้องมี Free – hand Sketch
                                                             และ Lettering สวย เป็นแบบอย่างได้ ต้องใจเย็น อดทนที่จะ
                                                             อธิบาย หรือสาธิต (ทั้งวาด พับ ตัด หรือใช้วิธีอื่น ๆ - รูปที่ ๑๐)

                                                             มีพลังที่จะตรวจแก้งาน ส�าคัญ คือ ต้องให้ผู้เรียนมีพื้นฐานแท้จริง
                                                             ว่า รูปไม่ได้เกิดเพราะวาด หรือคัดลอก แต่เกิดจากการมองเห็น
             รูปที่ ๘ ตัวอย่างเครื่องมือเขียนแบบชนิดใช้ปากกาแบบจุ่มหมึก   และหลักฟิสิกส์ (รังสีแสงตัดกัน เกิดวัตถุ) เช่น รูป Isometric เกิด
                          มีสกรูปรับขนาดเส้นได้



          42                                                     ปีที่ 78 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2568 l วิศวกรรมสาร
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47