Page 41 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 78 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2568
P. 41

ตอนที่ ๑๒ จากเขียนแบบวิศวกรรม และคอมพิวเตอร์พื้นฐาน ถึง BIM และ AI ตอนที่ ๑






            อัศจรรย์ เพราะ Descriptive Geometry     เครื่องมือเขียนแบบ ก็หมดยุคไปแล้วเช่นกัน ใช่ไหม?
            นี่เอง ท�าให้ผู้เรียนวิศวกรรม เข้าใจวิชาอื่น ๆ
            ได้ง่าย และชัดแจ้ง เช่น การเรียนกลศาสตร์    ขออย่าได้คิดว่า “เครื่องมือเขียนแบบ” คือ สิ่งประดิษฐ์ซับซ้อน ราคาแพง เข้าใจยาก
            พื้นฐาน สามารถเข้าใจแรงในระบบสองมิติ  ใช้ล�าบาก เพราะแท้จริงแล้ว คือเครื่องมือที่ถือก�าเนิดจากกายภาพพื้นฐานแท้ ๆ ตั้งแต่

            หรือสามมิติ ที่จะใช้กฎรวมแรง หรือแรงดัด   ดึกด�าบรรพ์ เช่น เชือกผูกปากกา หรือแท่งไม้ หรือแท่งเหล็ก ของ Imhotep อัครมหาเสนาบดี
            (∑F.. หรือ ∑M..) อาทิ แรงกระท�าที่จุด   ของ King Djoser ผู้เป็นนายช่างใหญ่ บัญชาการสร้างปิรามิด เมื่อวางตรึงลงกับพื้น หรือ
            แรงกระท�าตามแนวเส้นตรง (แรงดึง หรือ ระนาบแล้ว ก็จะเป็นสามเหลี่ยวมุมฉาก ๓ - ๔ - ๕ (ซึ่งมีมุม ๓๗ และ ๕๓ องศา ประกอบ
            แรงอัด) หรือแรงกระท�าบนเส้นตรงเดียวกัน  มุมฉาก) ที่วิศวกรตั้งแต่ยุคนั้น ถึงยุคปัจจุบัน ใช้ท�างาน เช่น ก�าหนดผัง หรือออกงาน
            (ยามหัดเขียน Shear Force Diagram หรือ  ลูกดิ่ง (Plumb) หรือระดับน�้า (Spirit level) ซึ่งอาศัยหลักแรงโน้มถ่วง หรือความดัน
            Bending Moment Diagram) หรือแรง บรรยากาศ อาจไม่จ�าต้องซื้อหาราคาแพง แต่ใช้ก้อนหิน หรือน�้าในท่อ หรือสายยาง ก็ดี
            กระท�าบนระนาบ เรื่องเหล่านี้ เพราะหาก  มีประสิทธิภาพ เช่นกัน

            ไม่เข้าใจถ่องแท้ ก็จะสะสมความยากล�าบาก     เครื่องมือเขียนแบบ ในยุคปัจจุบัน ที่บางคนคิดว่าก�าลังจะหมดความจ�าเป็น ไม่ใช่
            เมื่อต้องเรียนวิชาต่อไป (อาทิ Strength  ของแพง (แต่หากมีเงิน ซื้อของแพงมาใช้ ก็ตามใจท่านเถิด) สิ่งที่จ�าเป็นจริง น่าจะเพียง
            หรือ Mechanics of Materials หรือ T - slide (ก่อนนี้ เรียกไม้ที ต่อมา เหลือเพียงไม้บรรทัดใหญ่ตรง ๆ มีเชือก เรียกชื่อตาม
            ประยุกต์ ในวิชาวิเคราะห์ และออกแบบ การใช้งาน คือ ผูกติดโต๊ะเขียนแบบแล้วลากขึ้นลงได้ หลายสถาบันมีให้ใช้ ไม่ต้องซื้อหา)
            ต่าง ๆ - Analysis & Design) ข้าพเจ้าเคย ไม้สามเหลี่ยม และวงเวียน (Triangle & circle) ซึ่งคงเป็นเพียงสองอย่างที่ผู้เรียนมักต้อง

            เรียนวิชานี้ กับทั้งอาจารย์วิศวกรรมศาสตร์  ซื้อให้เอง ชนิดคุณภาพพอใช้ได้ราคาประมาณหลักร้อยต้น ๆ - รูปที่ ๗ ไม้สามเหลี่ยม
            (วิศวกรรมเครื่องกล)  และอาจารย์ (Triangle) มีสองชิ้น คือ มุมประกอบฉาก ๓๐ - ๖๐ องศา และ ๔๕ - ๔๕ องศา หรือจะ
            สถาปัตยกรรมศาสตร์ แปลกที่ผู้สอนทั้ง ใช้แบบปรับมุม อันเดียวก็ได้ ราคาแพงกว่า แต่ประกอบมุม เช่น ๖๐ (๓๐) + ๔๕ ๙๐ +
            สองท่าน ต่างสาขาต่างวิชาชีพ สอนเรื่อง ๓๐ (๔๕ หรือ ๖๐) ไม่ได้ ส่วนวงเวียน ยังพอจะใช้แทนที่กะระยะ หรือแบ่งระยะ (Divider)
            เดียวกันได้เข้าใจดีเหมือน ๆ กัน ทุกวันนี้   ได้ หลาย ๆ อย่างมีความจ�าเป็นน้อยลง เช่น โค้ง หรือกระดูกงู (Curve - ดูรูปที่ ๑๐
            หากจะยังมีวิชาดังกล่าว จะหาใครมาเป็น  จะใช้โค้งที่เกิดจากรอยเจาะไม้สามเหลี่ยมแทน หรือที่แถมมากับไม้สามเหลี่ยม ก็พอได้)
            ผู้สอน (เพราะล�าพังวิชาปัจจุบัน หรือ

            ศาสตร์ใหม่ ๆ ก็หาผู้สอนยาก หรือยากยิ่ง
            อยู่แล้ว) วิศวกรปัจจุบัน ที่ต้องท�างานโดยใช้
            ความรอบรู้ศาสตร์อื่น ๆ ที่เป็นสหวิทยาการ
            (Inter-disciplinaries) หรือเป็นบูรณาการ
            (Integratnion) จะมีคุณลักษณะเช่นกล่าว

            หรือไม่ (ตัวอย่าง วิศวกรสิ่งแวดล้อม ย่อม
            ต้องรู้ เคมี ชีววิทยา วิศวกรรมโยธา หรือ
            อื่น ๆ วิศวกรบริหารงานก่อสร้าง ต้องรอบรู้
            วิศวกรรมโยธา บริหารธุรกิจ หรือการเงิน
            และกฎหมาย เป็นต้น)









                                                         รูปที่ ๗ ไม้สามเหลี่ยม และวงเวียน คือเครื่องมือเขียนแบบพื้นฐาน








             วิศวกรรมสาร l ปีที่ 78 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2568                                          41
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46