Page 38 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 78 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2568
P. 38
ตอนที่ ๑๒ จากเขียนแบบวิศวกรรม และคอมพิวเตอร์พื้นฐาน ถึง BIM และ AI ตอนที่ ๑
ตัวอักษร รวมตัวเลข (Lettering & numeral) แห่งประเทศไทย มีบทความวิจัยจากมหาวิทยาลัยใหญ่
ปกติสากล แบบรูปจะใช้ตัวอักษรอังกฤษ พิมพ์ใหญ่ และเก่าแก่ “วิธีเขียนตัวอักษร (น่าจะเป็นตัว A) ของ
หรือพิมพ์เล็ก (Capital or small letter) อาจเพราะ นิสิตวิศวกรรมศาสตร์” เนื้อหางานวิจัยดังกล่าวบอก
พยัญชนะอังกฤษมีไม่มาก ไม่มีสระ หรือวรรยุกต์เหนือ เล่าประเด็นค้นพบที่น่าตื่นเต้น ซึ่งน้อยคน จะได้ล่วงรู้
หรือใต้บรรทัด มีเพียงบางตัวที่สูง หรือหางยาว (เช่น f หรือเล็งเห็นความส�าคัญ ดังนั้น โบราณว่า หรือ กวี
g h k l p q t y) (ท�าให้เว้นระหว่างบรรทัดตัวหนังสือ สุนทรภู่ว่า “ลายมือ อ่านใจ” หรือ “ลูกผู้ชายลายมือนั้น
ไม่ห่างกันมากนัก หรือประหยัดหน้ากระดาษได้) ปกติ คือ ยศ” เห็นจะเป็นจริงแท้แน่นอน แม้ทุกคนมิใช่
จะเลือกชนิดตัวหนังสือ (Font) ที่ค่อนข้างกลม หรือ โหราพยากรณ์ แต่ก็คงพอจะคาดเดานิสัยใจคนคน จาก
กว้าง อาจเป็นตัวตรง (Normal) หรือตัวเอียง (Italic - ลายมือได้บ้าง ไม่มากก็น้อยครับ
ต้องเอียงไปทางขวา ไม่ควรก�าหนดตายตัว เอาเป็น แบบสากล ใช้ตัวเลขอารบิค 0 ถึง 9 (ยุคนายช่างฝรั่ง
พองาม หรือประมาณไม่เกิน 10 องศาจากแนวดิ่ง) ทั้งนี้ สมัยรัชกาลที่ ๕ และรัชกาลที่ ๖ เช่น “สมุดคู่มือ
คงไม่เพียงเพราะพื้นฐานแต่ละตัวอักษร ถูกประดิษฐ์ ในการสร้างและบ�ารุงทาง - Instruction Manual for
จากวงกลม หรือสี่เหลี่ยม แต่เพราะตัวหนังสือลักษณะ Highway” ใช้ตัวเลขไทย ควบคู่กับตัวเลขอารบิค ยุคต่อมา
ดังกล่าวเขียนง่าย มีช่องไฟพอเหมาะ หากถูกย่อส่วน ปรับเปลี่ยนเป็นเลขอารบิค - (รูปที่ ๓) อย่างไรก็ตาม
(เช่น แบบแผ่นใหญ่ ถูกพิมพ์ หรือถ่ายย่อส่วนลงเป็น ตรวจสอบจาก Plate ของรีลอยด์ มีทั้งตัวหนังสืออังกฤษ
A - 2 ถึง A - 4 ก็ยังจะพออ่านตัวหนังสือได้ Software เลขอารบิค และตัวหนังสือไทย เลขไทย (รูปที่ ๔)
ส�าหรับงานเขียนแบบ งานวิศวกรรมอื่น ๆ หรืองานพิมม์ อาจด้วยเหตุผลคล้ายกัน เนื่องจากเลขอารบิค
มีหลากหลาย Font ให้เลือกใช้ แต่คงมีเพียงบาง Font มีพื้นฐานจากวงกลม เส้นตรง ทั้งเส้นดิ่ง และเส้นราบ
ที่เหมาะสมใช้งาน) ทั้ง ๒๖ ตัว ยังแบ่งเป็นกลุ่ม ตาม ตัวเลขดิจิทัลมีเค้าโครงพื้นฐานจากเลขแปด (คล้าย
ลักษณะเส้น (เส้นดิ่ง เส้นราบ เส้นเฉียง หรือเส้นโค้ง) วงกลม และเส้นผ่านศูนย์กลางเฉพาะแนวราบ) ทั้งนี้
ซึ่ง Stroke ต่าง ๆ กัน (หมายถึงจ�านวนเส้นที่ต้อง อาจเพราะประหยัดหน้าจอแสดงผลลัพท์ และวิธี
ยกดินสอ หรือปากกาเขียน โดยมีหลักว่า ลากจากบน แสดงผลลัพท์ (ท่านอาจจะยังจ�าได้จากปฏิบัติการ
ลงล่าง ซ้ายไปขวา หรือขวาไปซ้ายโดยอนุโลม และ พีชคณิต Boulean ในวิชาพื้นฐานวิศวกรรมไฟฟ้า -
เส้นโค้งลากตามเข็มนาฬิกา) เช่น ตัวพิมพ์ใหญ่ อาจมี (รูปที่ ๕)
ตั้งแต่ Stroke เดียว ถึงห้า Stroke ประกอบด้วย นอกเหนือจาก Free - hand Sketch เส้น ตัวอักษร
กลุ่มที่มีเฉพาะเส้นดิ่ง [I] มีทั้งเส้นดิ่ง และเส้นราบ และตัวเลข ปกติ เนื้อหาวิชา Engineering Drawing
[E, F, H, L,T] มีเส้นดิ่ง หรือเส้นราบ และเส้นเฉียง ส�าหรับนิสิต หรือนักศึกษาชั้นปีแรกจะมีเรื่องอื่น ๆ
[A, M, N, x, Z] มีเฉพาะเส้นเฉียง [V, W] มีเส้นดิ่ง หรือ (รูปที่ ๖) โดยเริ่มจากเรขาคณิตพื้นฐาน (รูปหลายเหลี่ยม
เส้นราบ หรือเส้นเฉียง และโค้ง [B, D, G, J, P, R, U] วงรี โค้งประกอบ หรือโค้งก้นหอย) เรื่องอื่น ๆ ซึ่งจะ
มีโค้งเดียว [C, O, Q] หรือโค้งประกอบ [S] ส่วนใหญ่ ได้ใช้ประโยชน์ตามแต่ละสาขาของวิศวกรรมศาสตร์
คิดว่า ตัว S เขียนยากสุด เพราะล้วนมีแต่เส้นโค้ง (แต่อย่างน้อย ทุกสาขาควรมีพื้นฐานทุกเรื่อง) ตัวอย่าง
(แท้จริงแล้ว เขียนได้ไม่ผิด แต่มักไม่สวย) อย่างไร วิศวกรรมโยธา ที่ปกติจะเขียนแบบรูปสองมิติ ดังนั้น
ก็ตาม กฎเกณฑ์งานเขียนแบบ ตัวอักษร และตัวเลข Orthographic ที่เป็น Multi - views จึงจ�าเป็นใช้เฉพาะ
อาจแตกต่างกันไปบ้าง ขึ้นกับมาตรฐานของแต่ละ รูปด้านบน (Top view เพราะมักจะใช้แสดงผัง เช่น
ประเทศ หน่วยงาน หรือตามความนิยม ผังหลังคา ผังพื้น ผังฐานราก หรือผังเสาเข็ม) รูปด้านหน้า
หากท่านเห็นว่า ข้าพเจ้ากล่าวไร้สาระ จาก Free - หรือหลัง (Front or rear view) และรูปด้าน (Elevation)
hand ถึงตัวหนังสือ ก็ต้องเรียนว่า “ทั้งตัวหนังสือ รูปตัด หรือภาคตัด ใช้เฉพาะรูปตัดตามยาว หรือรูปตัด
ภาษาไทย และตัวหนังสือภาษาอังกฤษ มีผู้ศึกษาวิจัย ขวางแบบเต็ม (Full - Section: longitudinal or cross
ท�าวิทยานิพนธ์ถึงระดับปริญญาเอก” ไม่นานมานี้ section) มีบ้าง ที่จะใช้ Offset Section เพื่อให้ได้ภาพตัด
ในงานประชุมวิศวศึกษา ของสภาคณบดีวิศวกรรมศาสตร์ แสดงเหล็กเสริมตลอดความกว้าง หรือความยาวอาคาร
38 ปีที่ 78 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2568 l วิศวกรรมสาร