Page 21 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 76 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2566
P. 21
การศึกษาอย่างเป็นระบบด้วยแบบจ�าลองเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการน�้าในลุ่มน�้าเจ้าพระยาเพื่อแก้ปัญหาภัยแล้งและน�้าท่วม
area) โดยต้องทราบขอบเขตของบล็อกที่ และข้าราชการประจ�า มีพื้นความรู้ทางด้านวิชาการเกี่ยวกับเรื่องนี้ค่อนข้างน้อย จึงยัง
แน่นอน และพื้นที่แต่ละบล็อกรับน�้าจาก ใช้วิธีการเก่า ๆ ก่อนปี พ.ศ. 2520 จัดการน�้าของประเทศอยู่ เพราะฉะนั้นในอนาคต
คลองส่งน�้าสายใดได้บ้าง และมีปริมาณน�้า อันใกล้นี้ถ้าเกิดความแห้งแล้งเช่นปี พ.ศ. 2536 ขึ้นมาอีกในลุ่มน�้าเจ้าพระยาโอกาส
เหลือใช้ (Return flow) จากพื้นที่ ที่กรุงเทพฯ จะขาดน�้าดิบในการผลิตน�้าประปาจึงมีสูงมาก ๆ หรือการเกิดน�้าท่วมในลักษณะ
ชลประทานภายนอก สามารถน�ามาใช้ใน อื่น ๆ ที่เกิดจากความผิดพลาดในการจัดการน�้า เช่น ท�าให้เกิดน�้าท่วมในพื้นที่รังสิต
พื้นที่บล็อก ณ จุดใดบ้าง ทั้งนี้เพื่อสะดวก ดอนเมือง หลักสี่และเขตจตุจักรในปี พ.ศ. 2554 เป็นต้น ซึ่งผู้เขียนทราบถึงการจัดการน�้า
ในการจัดสรรน�้าล่วงหน้ารายสัปดาห์ ที่ผิดพลาดตั้งแต่วันแรกแต่ไม่ทราบว่าจะท�าอย่างไร ทั้งนี้เพราะพื้นที่ดังกล่าวเคยเป็น
2) ส�าหรับพื้นที่ชลประทานพื้นที่หนึ่ง ส่วนหนึ่งของพื้นที่ที่เกี่ยวข้องกับหนึ่งในหลายกรณีศึกษาของผู้เขียนในโครงการเพิ่ม
ซึ่งรับน�้าได้มากกว่าหนึ่งอ่าง จะต้องระบายน�้า ประสิทธิภาพการจัดการน�้า โดยการจัดสรรน�้าล่วงหน้ารายสัปดาห์อย่างเป็นระบบด้วยแบบ
จากอ่างที่มีอัตราส่วนระหว่างปริมาตรน�้า จ�าลองในลุ่มน�้าเจ้าพระยาซึ่งผู้เขียนได้มีโอกาสเข้าร่วมงานโดยปฏิบัติงานเต็มเวลา
ในอ่างขณะนั้นต่อปริมาตรน�้าใช้งานของ เป็นเวลา 3 ปี (พ.ศ. 2522-2524) และต่อมาในปี พ.ศ. 2559 จะผันน�้าอุทกภัย
อ่างสูงกว่าลงมาใช้ก่อนต่อเมื่ออัตราส่วน เข้าคลองระพีพัฒน์อีกถ้าผู้เขียนไม่รีบเขียนบทความเรื่องคลองระพีพัฒน์ช่วยแก้ปัญหา
ลดลงหรือใกล้เคียงกัน จะต้องระบายน�้า น�้าท่วมได้จริงหรือลงพิมพ์ในหนังสือพิมพ์มติชนรายวันเสียก่อน อนึ่งความเสียหาย
ลงมาทั้งสองอ่างโดยรักษาอัตราส่วน ในลักษณะที่คล้ายกันหรือลักษณะอื่นก็อาจจะเกิดขึ้นได้อีก ทั้งนี้เพราะหาผู้ที่ทราบเรื่อง
ดังกล่าวให้อยู่ในลักษณะที่ใกล้เคียงกัน เกี่ยวกับการจัดการน�้าในลุ่มน�้าเจ้าพระยาอย่างเป็นระบบได้ยากมาก
8. บทส่งท้าย
เรื่องที่น�าเสนอนี้คงเกิดขึ้นได้ยาก เพราะ
ทั้งผู้บริหารระดับสูงทั้งที่เป็นนักการเมือง
ค�าขอบพระคุณ
ผู้เขียนขอขอบพระคุณ เอเคอร์อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ากัด (Acres International
Ltd.) ซึ่งได้รับผู้เขียนเข้าปฏิบัติงานที่ส�านักงานใหญ่ในประเทศคานาดา ในปี พ.ศ.
2517-2518 รวมเวลา 1 ปี ซึ่งปฏิบัติงานเฉพาะทางและมีงานมาให้ปฏิบัติจากทั่ว
โลกรวมทั้งประเทศสหรัฐอเมริกาด้วย และอีกเป็นเวลา 3 ปี (พ.ศ. 2522-2524)
ในโครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการน�้าในลุ่มน�้าเจ้าพระยา โดยการจัดสรรน�้า
ล่วงหน้ารายสัปดาห์อย่างเป็นระบบด้วยแบบจ�าลอง ถ้าปราศจากความอนุเคราะห์
ดังกล่าว การเขียนบทความนี้คงเป็นไปได้ยาก
วิศวกรรมสาร 21
ปีที่ 76 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2566