Page 20 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 76 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2566
P. 20
การศึกษาอย่างเป็นระบบด้วยแบบจ�าลองเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการน�้าในลุ่มน�้าเจ้าพระยาเพื่อแก้ปัญหาภัยแล้งและน�้าท่วม
2536-2537 ได้ถึงระดับหนึ่งแล้ว และถ้า อนึ่ง ประมาณวันที่ 15 พฤษภาคม
เกิดน�้าท่วมเช่นปี พ.ศ. 2554 ขึ้นมาอีก 2562 มีสื่อน�าเสนอข่าวว่า ผู้บริหารระดับ
ก็จะสามารถลดน�้าท่วมสูงตามล�าน�้า สูงของจังหวัดได้แจ้งให้ทราบว่าปริมาตร
เจ้าพระยาตั้งแต่จังหวัดนครสวรรค์จนถึง น�้าใช้งาน (Active storage) ของอ่างเก็บ
จังหวัดพระนครศรีอยุธยาได้ไม่น้อยกว่า น�้าเขื่อนอุบลรัตน์หมดแล้ว และก�าลังใช้น�้า
1,000 ลบ.ม. ต่อวินาที และตั้งแต่จังหวัด ก้นอ่างอยู่ (Dead storage) จึงเสนอแนะ
พระนครศรีอยุธยาถึงจังหวัดสมุทรปราการ ให้รีบด�าเนินการศึกษาการใช้น�้าในลุ่มน�้าชี
ได้ไม่น้อยกว่า 1,200 ลบ.ม. ต่อวินาที อย่างเป็นระบบด้วยแบบจ�าลองและมีการ
มีกรณีศึกษาเพื่อปรับปรุงทั้งระบบส่งน�้า เก็บข้อมูลจากแปลงทดลองในสนามมาส
และการใช้งาน (Operate) ระบบส่งน�้า อบเทียบแบบจ�าลองด้วยโดยเร่งด่วนต่อไป
อยู่หลายกรณี ซึ่งส่วนหนึ่งได้มาจากการ 7) ถ้าปล่อยให้เป็นเช่นนี้เรื่อย ๆ ไป
ศึกษาเพื่อจัดสรรน�้าล่วงหน้ารายสัปดาห์ (พฤษภาคม 2562) และในอนาคตถ้าเกิด
ด้วยแบบจ�าลอง อยู่ใน (1), (2) และ (3) วิกฤตความแห้งแล้งเช่นปี พ.ศ. 2536
2) เสนอแนะให้มีการเก็บข้อมูลส�าคัญ ขึ้นมาอีกในลุ่มน�้าเจ้าพระยา กรุงเทพฯ
ในแปลงทดลองจากสนามดังที่กล่าวมาแล้ว มีโอกาสขาดน�้าดิบในการผลิตน�้าประปา
เป็นเวลาอย่างน้อย 3-5 ปี เพื่อน�ามาใช้ สูงมากๆ
สอบเทียบแบบจ�าลอง
3) เสนอแนะให้พัฒนาแบบจ�าลอง
ส�าหรับท�านายปริมาณน�้าที่ไหลลงอ่างเก็บน�้า 7. เรื่องอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
(Inflow) ส�าคัญๆ ในลุ่มน�้าและปริมาณน�้า
ที่ไม่สามารถควบคุมได้ (Side flow หรือ เรื่องอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดสรรน�้า
Uncontrol flow) ณ จุดส�าคัญในลุ่มน�้า ล่วงหน้ารายสัปดาห์อย่างเป็นระบบด้วย
เพื่อให้สามารถท�านายทั้งปริมาณน�้าที่ไหลลงอ่างเก็บน�้าและปริมาณน�้าที่ไม่สามารถ แบบจ�าลองในลุ่มน�้าเจ้าพระยา ประกอบด้วย
ควบคุมได้ (Inflow และ Side flow) เป็นรายฤดู รายสัปดาห์ และรายวันได้ 1) บริษัท เอเคอร์ (1) ได้แบ่งพื้นที่
4) เสนอแนะให้ศึกษาเพื่อปรับปรุงเกณฑ์การใช้อ่างเก็บน�้าเพื่อลดอุทกภัย (Flood ชลประทานในลุ่มน�้าเจ้าพระยาเป็นบล็อก
rule curve) และเกณฑ์การใช้น�้าในอ่างเพื่อการเพาะปลูกฤดูแล้งในรูปของกราฟ ซึ่งมีลักษณะคล้ายกับพื้นที่รับน�้า (Catchment
ส�าหรับค�านวณหาพื้นที่เพาะปลูกฤดูแล้ง (DSAR-Curve) ในลุ่มน�้าเจ้าพระยาใหม่
5) ถ้าด�าเนินการดังที่ได้กล่าวมาแล้ว จะท�าให้การใช้อ่างเก็บน�้าในลุ่มน�้าเกิดประโยชน์
สูงสุด ทั้งด้านป้องกันอุทกภัยและเพื่อการชลประทาน ทั้งในเวลาปกติและเวลา
ที่เกิดภัยแล้ง และท�าให้ทราบปริมาณน�้าที่ไม่สามารถควบคุมได้ (Uncontrol flow)
ณ จุดส�าคัญ ๆ ในระบบลุ่มน�้าเพื่อน�ามาใช้ประกอบในการตัดสินใจระบายน�้าออกจากอ่าง
ได้อย่างถูกต้อง ทั้งช่วงเกิดอุทกภัย ช่วงเกิดภัยแล้งและช่วงปกติ และถ้าเกิดความแห้งแล้ง
เช่นปี พ.ศ.2536 ขึ้นมาอีกในลุ่มน�้าเจ้าพระยา กรุงเทพฯ อาจไม่ขาดน�้าดิบในการผลิตน�้า
ประปาอีกด้วย
6) ลุ่มน�้าอื่น ที่เสนอแนะให้ด�าเนินการ เช่นเดียวกับลุ่มน�้าเจ้าพระยาได้แก่ลุ่มน�้าชี
เพราะมีอ่างเก็บน�้าขนาดใหญ่อยู่ 2 อ่าง ได้แก่ อ่างเก็บน�้าเขื่อนอุบลรัตน์และอ่างเก็บน�้า
เขื่อนล�าปาว ถ้าจะก่อสร้างเขื่อนชีบนจะต้องศึกษาเพื่อพัฒนาแหล่งน�้าอย่างเป็นระบบ
ที่ถูกต้องดังเช่นใน (6) มิฉะนั้น ประชาชนที่อยู่ด้านท้ายน�้าบางพื้นที่จะได้รับความเดือดร้อน
อย่างแน่นอน
20 วิศวกรรมสาร
ปีที่ 76 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2566