Page 19 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 76 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2566
P. 19
การศึกษาอย่างเป็นระบบด้วยแบบจ�าลองเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการน�้าในลุ่มน�้าเจ้าพระยาเพื่อแก้ปัญหาภัยแล้งและน�้าท่วม
ฤดูแล้ง (DSAR-Curve) ใหม่ รวมทั้งอ่างเก็บน�้าเขื่อนแควน้อย 6. ข้อเสนอแนะ
และเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ พร้อมทั้งได้มีการพัฒนาแบบจ�าลอง
ส�าหรับท�านายทั้งปริมาณน�้าที่ไหลลงอ่างเก็บน�้า (Inflow) และ 1) เสนอแนะให้มีการพัฒนาแบบจ�าลองแล้วด�าเนินการ
ปริมาณน�้าที่ไม่สามารถควบคุมได้ (Side flow) และพัฒนาแบบ จัดสรรน�้าล่วงหน้ารายสัปดาห์ในลุ่มน�้าเจ้าพระยา-แม่กลอง อย่าง
จ�าลองส�าหรับจัดสรรน�้าล่วงหน้ารายสัปดาห์อย่างเป็นระบบลุ่มน�้า เป็นระบบลุ่มน�้าดังเช่นที่เคยปฏิบัติในช่วงปี พ.ศ. 2522-2525
ที่ถูกต้อง และมีการเก็บข้อมูลจากสนามที่มากพอและเป็นเวลา เพราะนอกจากจะสามารถแก้ปัญหาภัยแล้งดังเช่นที่เกิดในปี พ.ศ.
นานพอเพื่อน�ามาใช้สอบเทียบ (Calibrate) แบบจ�าลองก็อาจ
ลดอุทกภัยในปี 2554 ที่ จ.นครสวรรค์ได้มากกว่า 1,000
ลบ.ม.ต่อวินาที และยังสามารถเพิ่มพื้นที่เพาะปลูกฤดูแล้งได้อีกด้วย
อนึ่งส�าหรับแบบจ�าลองเพื่อท�านายปริมาณน�้าที่ไหลลงอ่าง
เก็บน�้า (Inflow) และปริมาณน�้าที่ไม่สามารถควบคุมได้ (Side flow
หรือ Uncontrol flow) บนพื้นที่ลุ่มน�้าขนาดใหญ่ ได้มีการพัฒนา
และใช้งานมานานแล้ว (มากกว่า 60 ปี) โดยเฉพาะประเทศ
ที่พัฒนาแล้วเช่น สหรัฐอเมริกา เป็นต้น (12) ซึ่งบางกรณีต้อง
ระบายน�้าออกจากอ่างเก็บน�้าเป็นเวลาล่วงหน้าถึง 4 เดือน
วิศวกรรมสาร 19
ปีที่ 76 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2566