Page 19 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2565
P. 19
ตอนที่ ๙ โบราณกับการเรียนรู้ ส�าเร็จ และล้มเหลว
ซึ่งสมรถนะเปลี่ยนไปมาก แต่ขนาด และรูปร่าง เวลาที่ต้องอ้อมช่องแคบ Malaka หรือ Sunda หรือ Lombok ซึ่ง
เปลี่ยนไปไม่มาก แปลว่า พัฒนาการหลายเรื่อง เป็นแนวคิดมีมาแต่รัชสมัยพระนเรศวรมหาราช โดยค�าแนะน�าของ
ย่อมมีขีดจ�ากัด ไม่ว่าจะเป็นเรื่องความคุ้มทุน ความ สองครูสงครามชาวโปตุเกส (Domingos De Seixas หรือ Fenao
ปลอดภัย หรืออื่น ๆ) ปัจจุบัน ราชินีแห่งน่านฟ้า Mendes Pinto) หากแต่ขณะนั้น รัชกาลที่สี่ทรงปฏิเสธ เพราะ
A 380 – 600 (ปี 2005) ถึง A 380 - 800 มีแนวโน้ม พระราชวินิจฉัยว่า ประเทศก�าลังสุ่มเสี่ยงต่อการล่าอาณานิคมของ
หยุดพัฒนาเพราะผู้ใช้เริ่มเห็นข้อจ�ากัด และความ ยุโรป โดยเฉพาะอังกฤษ และฝรั่งเศส ถึงวันนี้ ความเหมาะสม
ไม่คุ้มทุน เวลาไล่เลี่ยกับ B 747 – 100 มี Supersonic คุ้มทุนของการขุดคลองไทย เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมมาก ทั้งการเดิน
Aircraft – อากาศยานบินเร็วเหนือเสียงเชิงพาณิชย์ เรือผ่านช่องแคบ Malaka หรือ Sunda หรือ Lombok พัฒนาไป
Tupolev Tu 144 (1969) BAC Concorde (1969- จากเดิม ประเทศไทยได้ทุ่มงบประมาณพัฒนาชายฝั่งทัเลตะวันออก
1973) แต่ก็ต้องทะยอยปลดประจ�าการไปก่อน (Eastern Sea Board) ทั้งท่าเรือน�้าลึกแหลมฉบัง นิคมอุตสาหกรรม
ก�าหนดเวลาใช้งาน เพราะมีอุบัติเหตุบ่อยขึ้น ซึ่งเป็น มาบตาพุด ถนน และทางรถไฟ สู่ภาคเหนือ และตะวันออกเฉียง
ธรรมดาตามหลัก เร็วมาก แรงมาก ต้องซ่อมบ�ารุง เหนือ โดยไม่ผ่านกรุงเทพ (ทั้งนี้ ยังไม่นับแผนพัฒนาท่าเรือ Dawii
และสิ้นเปลืองมาก สองอากาศขนส่งยักษ์ใหญ่ ในเมียนมา Sihanouvill ในกัมพูชา Danang CanTho และ Hia
Antonov อย่าง An 124 Ruslan (1982) และ Phong ในเวียดนาม) คลอง Panama (เริ่มก่อสร้าง 1904–1914)
An 225 Mriya (1988) นับว่า มีบทบาทขนส่งสินค้า ความยาว 82 กิโลเมตร ย่นระยะทาง 22,500 กิโลเมตร ที่ต้องอ้อม
หนักสร้างประวัติใหม่ (ในเมืองไทยก็เคยมา) แต่น่า ช่องแคบ Drake และแหลม Horne) เชื่อมมหาสมุทร Atlantic
เสียดายนัก สงครามในปี 2022 ท�าให้ Mriya เสียหาย และ Pacific ที่เปรียบเสมือน “บันไดเรือ” เพราะระดับน�้าทะเล
เธออาจหมดโอกาสบินสู่ท้องฟ้าเสียแล้ว แตกต่างกัน อุโมงค์ Simplon เชื่อมอิตาลี กับสวิส (20 กิโลเมตร
เมื่อวิศวกรรมพัฒนา การคมนาคมขนส่งรวดเร็ว ในปี 1906) ทางรถไฟ Trans Siberia (Moscow – Vladivostok
เส้นทางคมนาคมยังไม่ใช่เป้าประสงค์สูงสุด หากแต่ (1,198 กิโลเมตร ตั้งแต่ปี 1891) ปัจจุบัน มีแนวความคิด
มนุษย์ ประสงค์จะ “ย่อโลก” (ความคิดนี้ เป็นที่มา เชื่อมต่อเครือข่ายถนน และทางรถไฟ ทั้งระดับภูมิภาค และโลก
ของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และ INTERNET) และ ในประเทศไทย ทางหลวงบางสายเป็นทางหลวง ASEAN และ
“เชื่อมต่อโลก” คลอง Suez ในอียิปต์ (ก่อสร้าง ทางหลวง Asia ด้วย นอกจากนั้น ประเทศไทยยังมีการเชื่อมต่อระบบ
ปี 1859 - 1869) เชื่อมต่อทะเล Mediteranian ขนส่งอื่น (รถไฟ ท่อ การขนส่งทางน�้า และการขนส่งทางอากาศ)
และทะเลแดง ร่นระยะทางที่ต้องอ้อมแหลม Good กับประเทศเพื่อนบ้าน หรือนานาประเทศ (รูปที่ 2) มีอุโมงค์ใต้น�้า
Hope ร่นระยะทาง 21,000 เหลือราว 12,000 หรือทะเลหลายแห่ง เช่น อังกฤษ – ฝรั่งเศส (50.5 กิโลเมตร เปิดใช้
กิโลเมตร (เจ็ดถึงสิบวัน) เสร็จจากคลอง Suez บริษัท 1994) เดนมาร์ก – เยอรมัน (18 กิโลเมตร คาดว่าจะเปิดใช้ 2029)
ผู้ขุด ติดต่อจะขุดคอคอดกระ เพื่อร่นระยะ และ อุโมงค์ใต้ทะเลสาป Taihu ในจีน (10.8 กิโลเมตร 2022)
ปีที่ 75 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2565 วิศวกรรมสาร 19