Page 18 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2565
P. 18

ตอนที่ ๙ โบราณกับการเรียนรู้ ส�าเร็จ และล้มเหลว


          (1765-18150 คิดเอาไปใช้ขับเคลื่อนเรือ เรียก เรือกลไฟ    พร้อมรถไฟจ�าลอง (ปัจจุบันเก็บรักษาที่พิพิธภัณฑ์สถาน
          เรือ และเครื่องจักรไอน�้า ใหญ่ขึ้น จนได้ “Unsinkable   แห่งชาติ) เพื่อให้ทรงสนพระทัยสถาปนากิจการรถไฟในไทย
          Ship“ เรือที่ไม่มีวันจม” นาม “Titanic” และเรือล�านี้  แต่ขณะนั้น ไทยมีพลเมืองน้อย เศรษฐกิจไม่มั่นคง จึงทรง
          ออกจากท่าเรือเมือง Machester มุ่งหน้าสหรัฐอเมริกา   ระงับไว้ สมัยรัชกาลที่ห้า มีรถยนต์แพร่หลายเข้ามาถึง
          แต่ไปไม่ถึงอเมริกา และไม่เคยกลับมาอีกเลย ในปี 1912    เมืองไทย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า ก็ทรงโปรด ฯ

          ต่อมา ในปี 2000 เรือด�าน�้า Nuatilus สามารถเดินทาง   ให้สั่งรถยนต์  ใช้ส่วนประองค์  และพระราชทาน
          ข้ามขั้วโลกเหนือได้โดยเครื่องยนต์พลังปรมณู  ที่ใช้   พระประยูรญาติ แต่ภายหลังเสด็จประพาสยุโรป ทรงเล็ง
          เชื้อเพลิงเพียงน้อย แต่ให้พลังงานมหาศาล แต่แปลกที่เมื่อ   เห็นว่า รถยนต์มีราคาแพง ประชาชนจะมีไว้ขับขี่ได้ยาก
          เรือด�าน�้า Kursk ของรัสเซียจมนิ่งลึกลงไปราว 100 เมตร    รถไฟขนส่งผู้โดยสารได้มากกว่า กอปรกับเมื่ออังกฤษ
          ในทะเล Barents คร่าชีวิตลูกเรือทั้ง 118 คน    และฝรั่งเศส แผ่ขยายอาณานิคมครอบคลุมเหลมอินโดจีน
            Nicolas Joseph Cugnot (1725-1804) อาจเป็นคนแรก   ทรงตระหนักถึงบทบาทของการคมนาคมโดยรถไฟ

          ที่พยายามใช้เครื่องจักรไอน�้าขับเคลื่อนรถยนต์ แต่ก็คง   เพื่อติดต่อกับมณฑลชายแดนที่จะขนส่งผู้โดยสาร สินค้า
          ยุ่งยากมาก ในห้วงเวลาเดียวกัน มีอุตสาหกรรมถลุงเหล็ก    และป้องกันการรุกรานได้สะดวก ทรงโปรดฯ ให้ประชาชน
          ยวดยานพาหนะ รถ เรือ เริ่มเปลี่ยนจากไม้ไปเป็นเหล็ก    เข้าบุกเบิกพื้นที่รกร้างว่างเปล่า ให้เป็นประโยชน์ต่อเศรษฐกิจ
          เหล็กถลุงแล้วรีดเป็นแผ่นบาง ม้วนและ Seam ตะเข็บรอยต่อ    ของประเทศในปี พ.ศ. 2430 และทรงโปรดฯ ให้ Sir
          ได้ท่อเหล็ก ซึ่งใช้ในอุตสาหกรรมก่อสร้าง อุตสาหกรรม   Andrew Clark และบริษัท Punched Mctaggart Luther

          ขุดเจาะ ขนส่งและกลั่นปิโตรเลียม  มีบันทึกว่า ท่อส่งน�้ามัน  ส�ารวจเพื่อสร้างทางรถไฟ ก�าเนิดยุครถไฟแต่บัดนั้น
          ขนาดใหญ่จาก Alaska ยาวถึง 2,500 ไมล์ เครื่องยนต์พลัง    ความพยายามของมนุษย์ที่จะบิน  อาจนับตั้งแต่
          ไอน�้า เริ่มเปลี่ยนเป็นเครื่องยนต์สันดาปภายใน (Internal   เครื่องร่อนของ Otto Lilienthal (1848 – 1896) จนกระทั่ง
          Combustion Engine – ICE) ใช้น�้ามันเป็นเชื้อเพลิง ใช้เวลา   เครื่องร่อน และเครื่องบินรูปแบบต่าง ๆ เกือบยี่สิบแบบของ
          นานพอสมควร กว่ารถ Benz Motorwagen (German Carl    สองพี่น้องตระกูล Wright จนกระทั่งเริ่มบินได้ส�าเร็จในปี
          Benz ในปี 1886) เป็น รถยนต์ใช้เครื่องยนต์คันแรก และ    1903 น�าโลกเข้าสู่ยุคการบินอย่างรวดเร็ว (อีกเพียงสิบกว่า
          Forfd Model T (โดย Henry Ford ในปี 1908) รถยนต์ที่ผลิต   ปีให้หลัง ปี 1911 อากาศยานแบบ Orville Wright บังคับโดย

          จ�าหน่ายเป็นอุตสาหกรรมเป็นครั้งแรก อาจนับว่า โลกก้าว   นักบินเบลเยี่ยม Charle Van Den Born มาลงที่สนาม
          จากสู่ยุคเหล็ก สู่งยุครถยนต์ ซึ่งเติบโตรวดเร็ว ท�าให้เป็น   สระปทุม ประวัติศาสตร์การบินพาณิชย์ กองทัพอากาศ และ
          โอกาสต้องพัฒนาสาธารณูปโภคเพื่อการขนส่งอย่าง   ท่าอากาศยานในประเทศไทย เริ่มต้น ณ บัดนั้น คือ
          รวดเร็วด้วย เช่น ถนน (ใช้ประโยชน์จากแอสฟัลต์ ซึ่ง  สั่งฝูงบินชุดแรก พ.ศ. 2456 เริ่มพัฒนาท่าอากาศยาน
          เป็นผลพลอยได้ของอุตสาหกรรมกลั่นน�้ามันเป็นวัสดุทาง)    กรุงเทพ หรือท่าอากาศยานดอนเมืองปัจจุบัน พ.ศ.

          รางรถไฟ ท่อน�้ามัน ผลพลอยได้ของอุตสาหกรรมกลั่นน�้ามัน   2457) ถือว่า การเปลี่ยนยุคของโลกด้วยความชาญฉลาด
          บางอย่าง  เหมือนดีเมื่อแรกเริ่ม  เช่น  เม็ดพลาสติก    ประดิษฐ์คิดค้นของมนุษย์ล�้าหน้ารวดเร็ว อย่างไรก็ตาม
          อุตสาหกรรมพลาสติก และโฟม ภายหลังประชาคมโลก    โศกนาฏกรรมผู้เสียชีวิต 36 คน จากเรือเหาะ Hindenburg
          กลับเห็นว่า เป็นขยะที่ก�าจัดยากยิ่ง เป็นสิ่งแปลกปลอมที่  ระเบิด ในปี 1937 ก็ท�าให้มนุษย์รู้ว่า การใช้ Hydrogen
          ไม่ควรมีในธรรมชาติ                            ซึ่งไวไฟ  มาบรรจุเรือเหาะ  คือความผิดพลาดมหันต์
            รถม้า ที่มีใช้งานในประเทศไทยเพราะชาวต่างประเทศ    ราวสามสิบปีให้หลัง อาจเพราะสงครามเร่งการประดิษฐ์

          เป็นแรงกระตุ้นให้ เกิดถนนยุคใหม่ (ถนนเจริญกรุง บ�ารุงเมือง   คิดค้นจากคู่สงครามทั้งสองฝ่าย Sir Frank Whistle (1907 -
          และเฟื่องนคร) แม้ในปี พ.ศ. 2369 Mr. Harry Smith   1996) และ Hans Joachim Pabst Von Ohain (1911-1998)
          Parkes อัญเชิญพระราชสาส์น และเครื่องราชบรรณาการ  อากาศยานก็เริ่มบินโดยเครื่องยนต์ไอพ่น - Jet ในปี 1968-
          ของสมเด็จพระนางวิคตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร     1970 อากาศยาน เชิงพาณิชย์ B 747-100 นับเป็นราชินีแห่ง
          ทูลเกล้าฯ ถวายแด่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว   น่านฟ้า (พัฒนาสืบเนื่องมาจนถึง B 747-400 (1989-2009)



          18 วิศวกรรมสาร  ปีที่ 75 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2565
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23