Page 21 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2565
P. 21
ตอนที่ ๙ โบราณกับการเรียนรู้ ส�าเร็จ และล้มเหลว
พลังงานไฟฟ้า คอมพิวเตอร์ ขับเคลื่อนเปลี่ยนโลก
Thomas Edison (1847–1931) แม้เป็นนักประดิษฐ์เพื่อธุรกิจ 2418) จนกระทั่งสถาปนากรมโทรเลข (พ.ศ. 2426) โดยใช้เครื่อง
มั่งคั่ง ไม่ใช่วิศวกร แต่ผลงาน หรือสินค้าของเขาอยู่คู่โลก อาทิ เครื่อง รับส่งวิทยุโทรเลขแบบ Marconi และเรียก Radio ภายหลังรัชกาล
ใช้ไฟฟ้า แม้บางอย่างจะหมดความนิยม หรือมีข้อจ�ากัด เช่น หลอด ที่หก โปรดฯ ให้บัญญัติใช้ “โทรเลข”) เริ่มขนส่งไปรษณีย์อากาศ
ไฟแบบมีไส้ (ทังสเตน) แผ่นเสียง และเครื่องเล่นจานเสียง ไฟฟ้า และ (ท่ากาศยานดอนเมือง – สนามบินเนินพลอยแหวน เมืองจันทบูรณ์
โรงไฟฟ้ากระแสตรง (1882) แต่เขา และคู่ต่อสู้ทางความคิดผู้ให้โลก หรือจันทบุรี (พ.ศ. 2462) และเมื่อการส่งจดหมาย และโทรเลข โดย
รู้จักไฟฟ้ากระแสสลับ คือ Nicolas Testla (1856–1943 ผู้บอกให้ กิจการโทรเลขยุติเมื่อปี พ.ศ. 2551 ถือเป็นจุดเริ่มต้น “การสื่อสาร
โลกรู้จักไฟฟ้า และโรงไฟฟ้ากระแสสลับ ในปี 1896) ต่างท�าให้โลก แห่งประเทศไทย” ปรับเปลี่ยนรูปแบบบริหารองค์กร และบริการ
และงานวิศวกรรม รู้จักใช้ประโยชน์จากพลังงานไฟฟ้า (แสงสว่าง ส่วนเครื่องค�านวณสมองกล ซึ่งปัจจุบัน นิยมทับศัพท์ว่า
เครื่องใช้ เครื่องจักรกล ยวดยานพาหนะ ระบบสื่อสารโทรคมนาคม คอมพิวเตอร์ กล่าวโดยสังเขป มนุษย์รู้จักการค�านวณมาแต่เมื่อใด
และคอมพิวเตอร์) ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็ก โดย Jame Clerk Maxwell ไม่ทราบแน่ชัด เช่นเดียวกับไม่ทราบก�าเนิดลูกคิด (Abacus) แต่มี
(1831–1879) ซึ่งแรกพิสูจน์ และแรกค้นพบคลื่นวิทยุ โดย Heinrich บันทึกเรื่องไม้บรรทัดค�านวณ - Slide Rule โดย William Oughtred
Hertz (1857-1894) รหัสมอสที่ใช้กับโทรเลข (Morse code for (1574–1660) เครื่องค�านวณแบบ Pascal (1642) เครื่องค�านวณ
Electric telegraph) โดย Samuel Morse (1791–1872) โทรศัพท์ แบบ Leibniz’s calculator (1674) เครื่องค�านวณอัตโนมัติแบบ
โดย Alexander Graham Bell (1874–1922) คลื่นวิทยุ และโดย Joseph – Marie Jacquard หรือ Jacquard’s Loom (1804)
Guglielmo Marconi (1901-1937) ท�าให้มนุษย์ใฝ่ฝันวิธีสื่อสาร ซึ่งดัดแปลงจากหูก และกี่เครื่องทอผ้า คอมพิวเตอร์โดย Charle
ทางไกล มากกว่าใช้วิธีก่อกองไฟ ใช้ควัน ใช้กระจกสะท้อนแสง Babbage (1791–1871) ในปี 1822 และเครื่องถอดรหัส Enigma
นกพิลาปสื่อสาร หรืออื่นได (หัวข้อถัดไป) ประเทศไทย ก็เริ่มมีกิจการ ของ Alan Touring (1912-1954) ซึ่งเป็นอาวุธลับชี้แพ้ชนะสงคราม
ไปรษณีย์ โทรเลข ตั้งแต่สมัยรัชการที่ห้า โดยทรงให้ชาวอังกฤษ โลกครั้งนั้น
จัดตั้ง ในปี พ.ศ. 2412 แต่ไม่ส�าเร็จ รัฐบาลไทยด�าเนินการเอง (พ.ศ.
โบราณที่ยังคงอยู่ ไม่มีเสื่อมถอย และโบราณที่ต้องบันทึก
นอกจากวิศวกรรมในอดีต จะถูกท�าลาย หรือลบเลือน ด้วยเหตุ และสามล้อเครื่อง ก็อาจคงอยู่กับโลกอีกนาน หรือตลอดไป เช่นกัน
สงคราม หรือความเชื่อแล้ว อีกทั้งวิทยาการ และเทคโนโลยีก้าวไกล เพราะราคาค่อนข้างถูกหากเทียบกับรถยนต์ ขับขี่ง่าย จอดง่าย
ไปรวดเร็ว เป็นสาเหตุหนึ่ง ให้หลายสิ่ง “ล้าสมัย” หรือ เสื่อมความ ไม่เปลืองที่ บรรทุกได้ทั้งคน และสิ่งของ ประหยัดค่าใช้จ่าย ดัดแปลง
นิยม เสื่อมค่า (Out-of-fashion, Out-of-date, Valueless) ตามความประสงค์ของผู้ใช้ได้ (รูปที่ 5) แม้บางอย่าง มนุษย์กระท�า
กลับกัน แปลกที่หลายสิ่งหลายอย่างยังคงอยู่ได้ ใช้ดี อยู่ดี มีคุณค่า เกินควร เสี่ยงอันตราย แต่หากยังมีข้อจ�ากัดที่ (เช่น รายได้ เส้นทาง
เป็น Vintage ที่คนจ�านวนไม่น้อยแสวงหาสะสม บ้างก็ว่ามีเสน่ห์ สัญจร คมนาคม) จ�าต้องอนุโลมให้ใช้ ก็ต้องมีมาตรการกฎหมาย
เพราะได้เรียนรู้ความหัศจรรย์ของสิ่งนั้น หรืออัจฉริยภาพของคน และมาตรการความปลอดภัย เช่นเดียวกับเครื่องจักรกลการเกษตร
ประดิษฐ์สร้างสรรค์ เมื่อย้อนยุคไปในเวลานั้น อาทิ ของใช้โบราณ เช่น รถไถแบบเดินตาม สารพัดประโยชน์ ทั้งไถนา ลากจูง บรรทุก
(รูปที่ 3) บางอย่าง เช่น จักรยาน แม้จะพัฒนาไปมาก ทั้งวัสดุ ซี่ล้อ ปั่นไฟ สูบน�้า รถกระบะ (Pick-up) ใช้บรรทุกสิ่งของ แต่หากบรรทุก
ชุดเฟือง และอื่น ๆ แต่จักรยาน ก็ยังเป็นจักรยาน ทั้งการคมนาคม เกินพิกัด ใช้บรรทุกผู้โดยสาร หรือวิ่งปะปนกับพาหนะอื่นบน
ขนส่ง กีฬา สันทนาการ ท�าให้นวัตกรรมที่เกิดต่อจากจักรยาน เช่น ท้องถนน ย่อมเสี่ยงอันตราย ต้องมีกฎหมายควบคุม และมาตรการ
สามล้อ (Tricycle & Oxtrike) อาจกลายเป็นสิ่งที่ยังคงอยู่คู่โลกไป ความปลอดภัย เช่นกัน (รูปที่ 6)
ด้วย (รูปที่ 4) บางคนเห็นว่า มอเตอร์ไซค์ มอเตอร์ไซค์ดัดแปลง
ปีที่ 75 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2565 วิศวกรรมสาร 21