Page 49 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2565
P. 49

ยานยนต์ไฟฟ้า มาตรฐานและความปลอดภัยที่ควรรู้
                                                                   การประยุกต์ใช้งานท่อเหล็กเพื่อเป็นเสาอาคารร่วมกับพื้นคอนกรีต

              ประเด็นส�าคัญประการหนึ่งที่ต้องพิจารณาคือ ก�าลังเฉือนทะลุ    ส�าหรับความคุ้มค่าในเชิงการลงทุนประกอบกิจการนั้น เป็นที่
            ของพื้นคอนกรีต ซึ่งขึ้นอยู่กับก�าลังรับแรงอัดของคอนกรีต (f ’)  ทราบกันดีว่าการปล่อยเช่าหรือการขายพื้นที่ ทั้งอาคารพักอาศัย
                                                            c
            ความหนาของแผ่นพื้นคอนกรีต (concrete slab thickness) และ  คอนโดมิเนียม อาคารส�านักงาน หรือพื้นที่ส�าหรับประกอบกิจการ
            ขนาดของ cap plate ที่จะต้องมีก�าลังรับแรง (strength) และความ  ร้านค้าในอาคารนั้น จะค�านวณพื้นที่จาก net floor area ที่หักลบ
            สามารถในการต้านทานการดัดตัว (stiffness) ที่มากเพียงพอ ซึ่งการ  เสาอาคารออกไป ด้วยเสาอาคารนั้นถือเป็นทรัพย์สินส่วนกลาง ผู้เป็น

            ดัดตัวของ cap plate นั้น ส่วนหนึ่งจะช่วยรับโดย bracket เสริม  เจ้าของกรรมสิทธิ์พื้นที่จะไม่มีกรรมสิทธิ์ดัดแปลงหรือครอบครองเสา
            ความแข็งแรงที่ติดตั้งเข้ากับ high strength bolt ซึ่งต่อมาจาก cap  อาคาร (ตลอดจนส่วนของโครงสร้างอื่น ๆ เช่น พื้น คาน เป็นต้น)
            plate ซึ่งด้วยลักษณะทางกายภาพที่ระบบจุดต่อนี้ถูกฝังอยู่ในเนื้อ  ดังนั้นหากเสาอาคารมีขนาดที่เล็กลงแล้ว ก็ย่อมส่งผลให้ net floor
            คอนกรีต การรับและถ่ายแรงจะมีลักษณะร่วมกันรับและถ่ายแรง   area เพิ่มสูงขึ้น ท�าให้พื้นที่ส�าหรับการขายหรือการปล่อยเช่าของ
            ที่เรียกว่า composite behavior ซึ่งมีความจ�าเป็นอย่างยิ่งที่จะต้อง  นักลงทุนเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งย่อมส่งผลให้อัตราก�าไรของนักลงทุนเพิ่มขึ้น
            ตรวจสอบพฤติกรรมกับการทดสอบจริงควบคู่ไปกับการจ�าลองผล  ตามไปด้วยแม้ว่าราคาของเสาเหล็กจะมีแนวโน้มที่สูงกว่าราคาเสา

            บนแบบจ�าลองคอมพิวเตอร์ (finite element model) โดยคณะ  คอนกรีตเสริมเหล็กก็ตาม
            นักวิจัย จาก บมจ.สหวิริยาสตีลอินดัสตรี (SSI) ร่วมกับภาควิชา    หากเราพิจารณาราคาประมาณการงานก่อสร้างอาคารคอนกรีต
            วิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ด�าเนิน  เสริมเหล็ก ที่ 6,000 บาทต่อลูกบาศก์เมตรคอนกรีต (ราคารวม
            การทดสอบ PostConnex ในห้องปฏิบัติการทดสอบที่สถาบัน   คอนกรีตสด เหล็กเสริมคอนกรีต ไม้แบบ ค่าแรง และค่าโสหุ้ย)
            เทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT) เพื่อท�าความเข้าใจต่อการรับแรงในเชิง  ในขณะที่ราคาประมาณการงานก่อสร้างอาคารโครงสร้างเหล็ก

            พฤติกรรม อันน�าไปสู่แนวทางการวิเคราะห์ค�านวณได้อย่างถูกต้อง  ที่ 60 บาทต่อกิโลกรัมเหล็ก (ราคารวม ค่าเหล็ก ค่าแรง และค่าโสหุ้ย)
            และเหมาะสมต่อไป                                      เราจะพอประมาณการต้นทุนเปรียบเทียบ เทียบกันระหว่างขนาด
































                       รูปที่ 3 กำรทดสอบเสำเหล็กรับพื้นคอนกรีต PostConnex ณ ห้องปฏิบัติกำรทดสอบ มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีแห่งเอเชีย














                                                                                  ปีที่ 75 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2565  วิศวกรรมสาร 49
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54