Page 44 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2565
P. 44

คอลัมน์          วิศวกรใช้ภาษา                                              รองศาสตราจารย์ ดร.วิสุทธิ์  ช่อวิเชียร






          สาเหตุเพราะไม่สังเกต









            ความจริงอย่างหนึ่งที่คนไทยไม่ค่อยจะตระหนัก คือ การที่ภาษาไทยนั้น มีใช้อยู่ประเทศ

          เดียว!! (อาจมีข้อยกเว้นนิดหน่อย คือ สปป.ลาว ที่ผู้คนอาจจะอ่านภาษาไทยรู้เรื่อง แต่ที่เขียน
          ได้ ยังเป็นส่วนน้อย) ดังนั้นถ้าผู้คนที่ใช้ภาษาไทยไม่รักหวงแหนภาษาไทยไม่รักษาภาษาไทย
          แล้วใครเล่าจะมารักษาภาษาไทย













            จงใจเขียนผิด?                                       หลักการ

            มีหลายคนที่จงใจเขียนภาษาไทยผิด ๆ ด้วยคิดว่าเป็นการ     หลักการในการที่จะปรับตัวเองให้เป็นผู้ที่เขียนภาษาไทยให้
          “โก้” “เท่” “เจ๋ง” ทั้ง ๆ ที่รู้ว่าจริง ๆ ควรจะเขียนอย่างไร    ถูกต้อง ผู้เขียนเห็นว่าน่าจะสรุปได้ 3 ข้อสั้น ๆ
          เป็นทัศนคติที่ควรแก้ เพราะสุดท้ายแล้ว จะไม่รู้ว่าการเขียนที่    1. พูดให้ถูก
          ถูกต้องเป็นอย่างไร                                    2. จ�าของที่ถูก
                                                                3. ตรวจสอบ



                                                                1. พูดให้ถูก
                  เด๋วนูู๋                                        หลาย ๆ ค�าที่หากเราพูดให้ถูก เวลาที่เราเขียน เราก็จะเขียน

                โทจองไห้                                      ได้ถูก
                                      คับๆ                        ตัวอย่างเช่น

                                     แจ๋วเรย                        ไม่ใช่เช่นนั้นหรอก (ไม่ใช่ ล.ลิง)

                                                                    การจราจรคับคั่ง (ไม่ใช่ ล.ลิง)
                                                                   อนุสาวรีย์ (ไม่ใช่ “เสา..”)
                                                                    สุนัขออกลูก 2 ครอก แล้ว (“ไม่ใช่ ล.ลิง)
                              รูปที่ 1                          มีหลายค�าที่เราจะสามารถเขียนได้ถูกต้อง ถ้าหากว่าเราออกเสียง
                                                              ถูกต้อง
            นอกจากนี้ ในการสื่อสารทางภาษา นอกเหนือจากทาง so-

          cial media แล้ว การใช้ภาษาไทยที่ผิด ๆ เป็นการส่อถึงความ    2. จ�าของที่ถูก
          ไม่ใส่ใจ (ซึ่งอาจรวมไปถึงความรับผิดชอบนหน้าที่การงาน) และ      คือ พยายามจ�าในสมองเฉพาะสิ่งที่เขียนถูก ท้ายบทความนี้
          อาจบ่งบอกถึงสถานภาพระดับการศึกษาของผู้เขียน         ขอแสดงแต่สิ่งที่ถูก เพื่อไม่ให้สิ่งที่ผิดไปอยู่ในหัวสมองของท่าน





          44 วิศวกรรมสาร  ปีที่ 75 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2565
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49