Page 53 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2565
P. 53

เสียงลั่นจากหลังคาบ้าน



              วิธีสังเกตว่าเสาใดเป็นเสาหลอกหรือเสาจริงนั้นดูได้ไม่ยาก โดย
            เฉพาะกับบ้านพักอาศัย 2-3 ชั้น เนื่องจากเสาจริงภายในเสาหลอก  ข้อแนะน�าเมื่อต้องท�าการต่อเติมอาคาร
            นั้น โดยปกติจะมีขนาดไม่ใหญ่มากนั้น โดยทั่วไปมีขนาดประมาณ             ยึดกับเสาหลอก
            20 x 20 เซนติเมตร เท่านั้น ไม่มีทางที่จะมีขนาดใหญ่มากถึง 40-
            50 เซนติเมตร ซึ่งเพื่อความมั่นใจสามารถตรวจสอบได้จากแบบ   1. ตรวจสอบให้มั่นใจว่า เสาที่ต้องการยึดนั้น มีโครงสร้าง
            สถาปัตยกรรม และแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง หรือหากไม่มี        เสาจริงอยู่ภายใน และอยู่ในต�าแหน่งใด
            แบบ สามารถตรวจสอบได้จากการเจาะผนัง ลองสกัดผนังปูนออก     2. ผนังปูนที่ก่อหุ้มเสาจริงนั้น ไม่สามารถรับน�้าหนักได้
            ได้  เนื่องจากส่วนของผนังปูนไม่ใช่ส่วนที่รับน�้าหนัก ซึ่งสามารถเอา    การเชื่อมยึดพื้นหรือคานส่วนต่อเติม ต้องสกัดเปิดผนัง
            ออกได้ทั้งหมด โดยไม่กระทบต่อความแข็งแรงของอาคาร            ปูนออกแล้วเชื่อมต่อกับเสาอาคารโดยตรง ห้ามเจาะยึด
              ความเสียหายส่วนใหญ่ของเสาหลอกนั้น มักจะพบบริเวณเสา       กับผนังปูนโดยเด็ดขาด
            หลอกบริเวณที่จอดรถ ซึ่งมีการก่อพอกเสาโดยการก่อผนังบนพื้นที่  3.  ภายในเสาหลอกนั้น อาจจะมีท่อน�้าทิ้ง ท่อน�้าดี หรือท่อ

            จอดรถ ซึ่งเป็นพื้นแบบวงบนดิน ซึ่งเมื่อเวลาผ่านไป เมื่อพื้นเกิดการ    สายไฟอยู่ การเจาะสกัดให้ระมัดระวังหรือต้องหาวิธี
            ทรุดตัวก็จะดึง ผนังปูนที่ก่อหุ้มเสาให้เกิดปัญหาแตกร้าวได้ การแก้ไข    ขยับหลบท่อดังกล่าว
            นั้นให้ท�าการแยกส่วนของผนังปูนที่ก่อหุ้มเสาออกจากกัน โดยก่อ  4.  ผนังปูนที่ก่อรอบเสาจริงนั้น สามารถสกัดทิ้งได้ทั้งหมด
            ผนังใหม่ให้วางบนคานที่เทขึ้นใหม่ให้ยึดกับเสา เพื่อไม่ให้เกิดปัญหา    หากไม่ต้องการ เนื่องจากไม่มีผลต่อการรับน�้าหนัก แต่
            การทรุดตัวดึงจนผนังแตกร้าวอีก                              การสกัดผนังปูนออกต้องอย่าท�าให้เสาอาคารจริงเสียหาย
                                                                     5. เสาหลอกดังกล่าวสามารถปรับเปลี่ยนขนาดและรูปแบบได้
                                                                       แต่ต้องพิจารณาว่าผนังดังกล่าวต้องมีโครงสร้างรับ
                                                                       น�้าหนัก เพื่อให้ไม่มีปัญหาการทรุดตัวภายหลัง ซึ่งจะ
                                                                       ท�าให้เกิดปัญหาแตกร้าวได้














































                                                                                  ปีที่ 75 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2565  วิศวกรรมสาร  53 53
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58