Page 50 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2565
P. 50
เสาคอนกรีตและเสาเหล็กประมาณการ โดยสมมติความยาวของเสา 3 เมตร ได้ดังตาราง
รูปที่ 4 ตารางแสดงขนาดเสาท่อเหล็กที่เล็กลงจากเสาคอนกรีตเสริมเหล็ก
แต่หากพิจารณาพื้นที่เสาที่ลดลงอันส่งผลต่อ net floor area ที่เพิ่มขึ้น โดยหากราคาขาย
พื้นที่อยู่ที่ 100,000 บาทต่อตารางเมตร การลดลงของพื้นที่เสาจะช่วยให้นักลงทุนสามารถ
ท�าก�าไรได้เพิ่มขึ้นดังตาราง
รูปที่ 5 ตารางแสดงความคุ้มค่าของการใช้เสาท่อเหล็กทดแทนเสาคอนกรีตเสริมเหล็ก จากพื้นที่ใช้สอยที่เพิ่มมากขึ้น
ดังนั้นหากผู้ประกอบการพิจารณาถึงปัจจัยที่หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นคุณภาพของงาน ต่อนักลงทุน ผู้พัฒนาอสังหาริมทรัพย์
ก่อสร้างที่ดีด้วยมีการควบคุมการผลิตมาจากโรงงาน หรือก่อสร้างที่สามารถด�าเนินการได้ง่าย ตลอดจนเจ้าของอาคารที่ต้องการคุณค่า
และรวดเร็ว ไม่ต้องติดตั้งไม่แบบ ติดตั้งเหล็กเสริม เทคอนกรีต รอคอนกรีตบ่มตัว หรือความ ที่มากกว่าระบบงานก่อสร้างที่ใช้กันอยู่
สวยงามความโล่งโปร่งของตัวอาคารและความยืดหยุ่นในการตกแต่งภายใน ไปจนกระทั่งผล ในปัจจุบัน
ก�าไรที่ได้รับที่เพิ่มสูงขึ้น ทั้งหมดนี้เป็นส่วนส�าคัญที่จะท�าให้ PostConnex น่าจะเกิดประโยชน์
ประวัติผู้เขียนบทความ
นายณัฐพล สุทธิธรรม
การศึกษา
วศบ. สาขาวิศวกรรมโยธา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วศม. Lehigh USA
บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ต�าแหน่งปัจจุบัน
Head of steel construction technology and market development, บมจ. สหวิริยาสตีลอินดัสตรี
กรรมการอ�านวยการ วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ (พ.ศ. 2563-2565)
อนุกรรมการสาขาโครงสร้างเหล็ก วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ
กรรมการเหล็กเพื่อการก่อสร้าง (ConSTructCo) สถาบันเหล็กและเหล็กกล้าแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (SEAISI)
50 วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2565