Page 55 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2565
P. 55
เทคโนโลยี 5G และการทดสอบภายในประเทศ
ส�าหรับโหมดในการติดตั้งระบบ 5G จะมี 2 แบบ คือ โหมด
คลื่น 5G มีย่านความถี่ในการใช้งานที่กว้างมากขึ้น รองรับ ไม่ตามล�าพัง (Non-standalone, NSA mode) ต้องท�างานร่วมกับ
ความยาวคลื่นย่านมิลลิเมตร (0.001 m) กล่าวคือ ระบบ 4G, LTE และโหมดตามล�าพัง (Standalone, SA mode)
1. ย่านความถี่ต�่ากว่า 1 GHz (Low Band) ได้แก่ 600 - ที่ไม่ต้องพึ่งพาระบบ 4G, LTE
900 MHz คุณสมบัติของย่านความถี่นี้ สัญญาณครอบคลุม กระจาย นอกจากนี้ เทคโนโลยี Massive Multiple Inputs Multiple
ได้ในบริเวณกว้างมาก เหมาะส�าหรับการใช้งานในอุปกรณ์ IoT เพื่อ Outputs (Massive MIMO) จะเพิ่มความสามารถในการรับส่งข้อมูล
ให้ครอบคลุมทั้งเมือง ด้วยการใช้สายอากาศจ�านวนมาก อาศัยการประมวลผลแบบอาเรย์
2. ย่านความถี่กลางระหว่าง 1 GHz - 6 GHz (Mid Band) (Array Processing) และเทคนิคการจัดล�าคลื่นหรือบีมฟอร์มมิ่ง
ได้แก่ คลื่น 2,500 - 2,690 MHz ครอบคลุมและรองรับความจุ (Beamforming techniques) โดยส่งผลให้มีความเร็วในการรับส่ง
(Capacity) ของโครงข่าย เช่น ติดตั้งในเมืองอัจฉริยะ ข้อมูลเพิ่มมากขึ้น
3. ย่านความถี่สูงกว่า 6 GHz (High Band) ได้แก่ ในการทดสอบ Data rate ในเครือข่าย 5G จะใช้อุปกรณ์
ความถี่ใกล้เคียงย่านมิลลิเมตร (mmWave) ได้แก่ 24.3 - 27 GHz hardware และ software เพื่อรับสัญญาน 5G จากสถานีฐาน
ด้วยแบนด์วิธ (Bandwidth) ที่กว้างมาก จึงสามารถรองรับความจุ (base station) และท�าการทดสอบความครอบคลุมของเครือข่าย
ในระดับสูงมาก (High capacity) แต่ความครอบคลุมไม่ไกล 5G โดยวัดค่าระดับความแรงของสัญญาณ (Received Signal
ไม่กี่ร้อยเมตร จึงเหมาะที่จะติดตั้งเป็นจุดการใช้งาน (hotspot) Strength Indication, RSSI) เปรียบเทียบกับค่าระดับสัญญาณต่อ
ในพื้นที่ซึ่งมีปริมาณการใช้งานมาก มีความต้องการอัตราการรับ สัญญาณรบกวน (Signal-to-Noise Ratio, SNR) และท�า drive test
ส่งข้อมูลในระดับสูง เช่น การจัดนิทรรศการ/มหกรรมสินค้า ฯลฯ เพื่อสรุปออกมาเป็นแผนภาพเพื่อแสดงคุณลักษณะสัญญาณ 5G
ดังนั้น ย่านความถี่การใช้งานที่กว้างขึ้นนี้ ก็จะท�าให้ระบบการสื่อสาร ในพื้นที่ที่ต้องการทดสอบ
5G สามารถรองรับจ�านวนผู้ใช้งานในแต่ละพื้นที่ได้มากขึ้น และ โดยสรุป คุณสมบัติของ 5G ที่โดดเด่น โดยแบ่งตามการใช้งาน
ตอบโจทย์ความต้องการใช้งานที่หลากหลายอีกด้วย (use cases) ออกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่
- Enhanced Mobile Broadband (eMBB) ความสามารถ
ในการส่งข้อมูลบรอดแบนด์ โดยมีความเร็วของการเชื่อมต่อไร้สาย
ที่สูงขึ้นจนถึงระดับ Gbps (กิกะบิตต่อวินาที) จึงท�าให้รองรับความ
ต้องการของผู้ใช้งานได้สะดวกมากขึ้น
- Massive Machine Type Communications (mMTC)
ความสามารถในการเชื่อมต่ออุปกรณ์ IoT จ�านวนมากในพื้นที่
เดียวกัน ในเวลาเดียวกัน
- Ultra-reliable and Low Latency Communications
(URLLC) ความสามารถในการรับส่งข้อมูลที่รวดเร็ว เสถียร มีความ
น่าเชื่อถือสูง และมีความหน่วงเวลาที่ต�่า เหมาะกับการใช้งานที่
ต้องการความแม่นย�าสูง เช่น ระบบของรถยนต์อัตโนมัติ เป็นต้น
ปีที่ 75 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2565 วิศวกรรมสาร 55