Page 36 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2564
P. 36

โบราณก          กรรมไ ย




              ส�ารวจ ออกแบบ และก่อสร้าง



            งานส�ารวจทางโบราณคดี ย่อมมีความส�าคัญในล�าดับก่อนงาน  โครงสร้างพื้นฐานทุกประเภทก็ว่าได้ เพราะหากยังไม่จัดการกับพื้นที่
          ส�ารวจทางวิศวกรรม เพราะการซ่อมแซม หรือฟื้นฟูบูรณะอาคาร  และการระบายน�้าแล้ว ก็ยังไม่ควรท�าอย่างอื่น อนึ่ง แม้สิ่งปลูกสร้าง
          หรือโบราณสถาน ย่อมมุ่งเน้นจะรักษาสภาพ และผดุงคุณค่า  อาคาร หรือโบราณสถานบางแห่งจะมีสระ หรือบ่อน�้า (เช่น บาราย
          ของโบราณสถาน ในเชิงสถาปัตยกรรม ศิลป์ ประวัติศาสตร์ หรือ  ในโบราณสถานขอม) แต่ย่อมไม่ใช่พื้นที่รับน�้าทั้งหมด ขณะเดียวกัน
          โบราณคดี ให้มากที่สุด กล่าวรวมโดยสังเขป โดยสังเขป ดังนี้  ย่อมไม่อาจจะระบายน�้าจากบริเวณอาคาร หรือโบราณสถาน ไปสู่พื้นที่

            ส�ารวจภูมิประเทศ และการระบายน�้า เพื่อท�าหมุดหลักฐาน  โดยรอบ พื้นที่เกษตรกรรม ที่อยู่อาศัย ระบบคมนาคม  (รูปที่ ๗)
          ควบคุมพิกัดทางราบ และพิกัดทางดิ่ง ส�ารวจพื้นที่รับน�้า ทิศทางระบาย     ส�ารวจการใช้ที่ดิน หรือการเปลี่ยนแปลงสภาพธรรมชาติ โดย
          หรือไหลบ่าของน�้า สภาพการใช้ที่ดิน หรือความสามารถในการ  มนุษย์ ชุมชน หรือเมืองเจริญ สิ่งปลูกสร้าง และสาธารณูปโภค บริเวณ
          ซึมซับน�้า ระดับน�้าสูงสุด ต�่าสุดในแต่ละฤดูกาล สภาพการกัดเซาะ  สิ่งปลูกสร้าง อาคาร หรือโบราณสถาน อย่างต่อเนื่อง เพื่อก�าหนด
          ของพื้นดิน ระดับน�้าใต้ดิน เพราะการระบายน�้าประกอบด้วย ระบบ  มาตรการจ�าเป็น อาทิ ท�ารั้ว คันดิน หรือท�านบป้องกันอุทกภัย วางระบบ
          ระบายน�้าที่ผิวดิน หรือน�้าท่า โดยเฉพาะน�้าฝน นอกจากนั้น การลด  ระบายน�้า ปรับปรุงภูมิทัศน์ ปราสาทพลสงคราม เป็นตัวอย่างหนึ่ง
          แรงดันน�้าใต้ดิน การตัด หรือป้องกันความชื้น และการระบายอากาศ   ของการจัดการน�้าท่ามกลางสภาพการใช้ที่ดิน และการระบายน�้า

          เพื่อป้องกันปฏิกิริยาชีวเคมี จากการเจริญเติบโตของตะไคร่ มอส   ที่เปลี่ยนแปลง  เนื่องจากการพัฒนาทางหลวง ทางรถไฟ ชุมชนที่พัก
          ไลเคนส์ เชื้อรา หรือวัชพืช งานส�ารวจและระบายน�้าเป็นหัวใจของงาน  อาศัย คลองชลประทาน (รูปที่ ๘)

















                                           ก. บ่อรับน�้า ท่อลอด หรือรางระบาย กับฝาตะแกรง
             (ฟ้าแดดสงยาง อ�าเภอกมลาไสย กาฬสินธุ์ ปราสาทก�าแพงน้อย อ�าเภออุทุมพรพิสัย ศรีสะเกษ และกุฎีฤาษี บ้านโคก อ�าเภอประโคนชัย บุรีรัมย์)


















                                                     ข. ลดแรงดันน�้าใต้ดิน












           36
                  วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2564
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41