Page 38 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2564
P. 38
โบราณก กรรมไ ย
ที่เหมาะสม ใกล้เคียงของเดิม แต่หากเปลี่ยน
หรือทดแทนวัสดุเดิมด้วยวัสดุใหม่ ย่อมต้อง
ตระหนัก ทั้งคุณค่าทางศิลป ประวัติศาสตร์
โบราณคดี ในเชิงวิศวกรรม น�้าหนักอาจ
เปลี่ยนแปลง ต้องตรวจสอบองค์อาคาร
หรือโครงสร้างรองรับ อาจจ�าเป็นต้อง
เสริมก�าลัง (รูปที่ ๑๒)
ก. เปลี่ยนฐานรากไม้ เป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก
ข. เปลี่ยนฐานรากแผ่ เป็นฐานรากวางบนเสาเข็ม
ค. ฉีดอัดน�้าปูน หรือเสริมเหล็ก (อนุเคราะห์ โดย ชาญพจน์ ตั้งตรงจิตร)
รูปที่ ๙ ตัวอย่างการปรับปรุงฐานราก
การเปลี่ยน หรือใช้วัสดุใหม่ทดแทนส่วนที่ช�ารุดเสียหาย ท�าได้ แต่มีข้อพิจารณา หรือ
มีข้อจ�ากัดอยู่บ้าง กรณีโครงสร้างไม้ หากเปลี่ยนไม้ชนิดเดียวกัน ย่อมท�าได้ และควรท�า
ในเวลาที่ยังสามารถตรวจสอบ รู้ชนิดไม้ (รูปที่ ๑๐) การเปลี่ยนไม้เป็นเหล็ก หากอยู่ใน รูปที่ ๑๐ ตัวอย่างการเปลี่ยนวัสดุ
ส่วนที่ไม่ปรากฏต่อสายตา (เช่น โครงสร้างหลังคา แป จันทัน ตะเฆ่ อกไก่ ดั้ง) ย่อมท�าได้ ที่เป็นชนิดเดียวกัน
เช่นกัน (รูปที่ ๑๑) การเปลี่ยนวัสดุที่เป็นชนิดเดียวกัน หรือคล้ายคลึงกัน เพราะไม่สามารถ (รูปกลางและล่างวัดธรรมิกราช
หาของเดิม หรือผลิตให้เหมือนของเดิม (โดยเฉพาะวัสดุประดับต่าง ๆ เช่น กระเบื้อง พระนครศรีอยุธยา สะพานแบบหอสูง
ถ�้ากระแซ อ�าเภอไทรโยค และ
หลังคา กระเบื้องปูพื้น) ย่อมท�าได้ แต่บางกรณี ต้องมีกรรมวิธี เช่น อิฐก่อ อาจต้องทิ้ง กาญจนบุรี - อนุเคราะห์โดย อานุภาพ ศรีเมือง)
เผื่อการให้ตัวก่อนใช้งาน ปูนก่อ ปูนฉาบ หรือปูนขัด อาจต้องทดลองหาส่วนผสม
38
วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2564