Page 37 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2564
P. 37
โบราณก างบั กรรมไทย
ค. ตัดความชื้นในอาคาร
รูปที่ ๗ ตัวอย่างระบบระบายน�้า
รูปที่ ๘ ตัวอย่างต้องจัดการน�้าเมื่อสภาพการใช้ที่ดินเปลี่ยนแปลง (ปราสาทพลสงคราม อ�าเภอโนนสูง นครราชสีมา)
ส�ารวจการใช้ที่ดิน หรือการเปลี่ยนแปลง ปัจจุบัน อาจใช้การส�ารวจภาคพื้นดิน ดังเช่นที่ท�ามาแต่เดิม หรือใช้การส�ารวจระยะไกล
สภาพธรรมชาติ โดยมนุษย์ เพราะชุมชน เช่น อาศัยภาพถ่ายทางอากาศ อย่างไรก็ตาม การไปเห็นสถานที่จริง ย่อมจ�าเป็น โดยอาจ
หรือเมืองเจริญ และขยายตัว โดยเฉพาะ เริ่มส�ารวจด้วยตาเปล่า ใช้เครื่องมืออย่างง่าย (ดิ่ง ระดับน�้า) ใช้เครื่องมือทดสอบในสถานที่
สิ่งปลูกสร้าง และสาธารณูปโภคบริเวณ (เช่น ทดสอบก�าลังแบกทานของดิน หิน) ใช้สว่านเจาะสุ่มเก็บตัวอย่างเพื่อทดสอบในห้อง
อาคาร หรือโบราณสถาน อย่างต่อเนื่อง ปฏิบัติการ เก็บตัวอย่างอิฐ หิน (ต้องไม่ใช่ชิ้นส่วนส�าคัญ หรือไม่ท�าลายคุณค่าทางศิลป
อาจท�าให้ต้องก�าหนดมาตรการจ�าเป็น ประวัติศาสตร์ และโบราณคดี) เพื่อทดสอบ ความแข็ง โมดูลัสยืดหยุ่น ก�าลังต้านทานแรง
อาทิ ท�ารั้ว คันดิน หรือท�านบป้องกันอุทกภัย ต่าง ๆ ในห้องปฏิบัติการ การทดสอบวัสดุ อาจใช้ทั้งกระบวนทดสอบแบบไม่ท�าลาย หรือ
วางระบบระบายน�้า ปรับปรุงภูมิทัศน์ กระบวนทดสอบแบบท�าลาย
ส�ารวจทางธรณีวิทยา และธรณีเทคนิค อาคาร หรือโบราณสถานบางแห่งอาจจ�าเป็นต้องปรับปรุง หรือเสริมก�าลังฐานราก อาทิ
หมายถึงกระบวนส�ารวจ ธรณีสัณฐาน สภาพ เปลี่ยนฐานรากไม้ (แระ หรือกงพัด กับงัว) เป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก ขยายขนาดฐานราก
ธรณีวิทยา และธรณีเทคนิค ให้ทราบสมบัติ เปลี่ยนฐานรากแผ่ เป็นฐานรากวางบนเสาเข็ม ฉีดอัดน�้าปูน (Grouting) หรือเสริมเหล็ก
ของดิน หิน น�้าใต้ดิน ณ บริเวณที่ตั้งอาคาร หลาย ๆ กรณี อาจปรับปรุง หรือเสริมก�าลังฐานราก พร้อม ๆ กับการยก (Under-pinning)
หรือโบราณสถาน เพื่อปรับปรุงฐานราก อาคารให้สูงขึ้น หรือแก้ปัญหาทรุดเอียง (รูปที่ ๙)
หรือการระบายน�้า
37
วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2564