Page 69 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2564
P. 69
บทเรียนการบริหารจัดการน�้าของเมืองหลักบนลุ่มแม่น�้าเจ้าพระยาในประวัติศาสตร์ไทย
อาจารย์ ดร.วีระพันธุ์ ชินวัตร
ศาสตราจารย์ ดร.หรรษา วัฒนานุกิจ
บทเรียนการบริหารจัดการน�้าของเมืองหลัก
บนลุ่มแม่น�้าเจ้าพระยา
ในประวัติศาสตร์ไทย
ภูมิปัญญาท้องถิ่นแบบ “อยู่กับน�้า” นี้ถูก
ถ่ายทอดต่อเนื่องเรื่อยมาจนถึงสมัยอยุธยา และสมัย
วัฒนธรรมนำ้า รัตนโกสินทร์ตอนต้น ตัวอย่างเห็นได้ชัดคือ เมือง
อินทร์บุรี เมืองน�้าในสมัยทวารวดีที่ถูกค้นพบเมื่อ
จากข้อมูลการศึกษาการตั้งถิ่นฐานของเมืองโบราณ [*1] ผู้คนที่อาศัยอยู่ในบริเวณ ประมาณ 40 ปีมาแล้วในจังหวัดสิงห์บุรี จากการ
ที่เรียกว่า “ประเทศไทย” ได้ลงหลักปักฐานอยู่บริเวณริมฝั่งแม่นำ้าและที่ราบลุ่มแม่นำ้า ศึกษาวิเคราะห์ภาพถ่ายทางอากาศเปรียบเทียบกับ
นำ้าท่วมหลากจึงเป็นวิถีชีวิตส่วนหนึ่งในวัฒนธรรมของพวกเขาผ่านกาลเวลา ผลศึกษา
ค้นคว้าวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับนำ้า [*6] เห็นพ้องต้องกันว่าการตั้งถิ่นฐานของชุมชน การส�ารวจพื้นที่ภาคสนาม [*3] (รูปที่ 2) ภาพถ่าย
โบราณบริเวณที่ราบลุ่มแม่นำ้าเจ้าพระยาบนสามเหลี่ยมสันดอนปากแม่นำ้า (delta) จะอยู่ ทางอากาศเก่านี้เป็นหลักฐานร่องรอยของเส้นทางน�้า
ริมนำ้า (รูปที่ 1) เพื่อความสะดวกในการทำาเกษตรกรรม สัญจรทางนำ้า ติดต่อค้าขาย ที่เชื่อมต่อชุมชนโบราณขนาดเล็กอย่างน้อย 20 ถึง
และเชื่อมต่อกับทะเล เส้นทางนำ้าและคลองขุดที่เชื่อมถิ่นฐานของชุมชนโบราณเหล่านั้น 30 ชุมชน สรุปได้ว่าผู้คนที่อาศัยอยู่ในบริเวณนี้ตั้งแต่
จึงมีขึ้นเพื่อความสะดวกในการคมนาคมและขนส่งเป็นหลัก สมัยทวารวดี คือ ชาวน�้า (water-based people)
69
วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2564
วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2564