Page 72 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2564
P. 72
บทเรียนการบริหารจัดการน�้าของเมืองหลักบนลุ่มแม่น�้าเจ้าพระยาในประวัติศาสตร์ไทย
การปรับตัวอยู่กับนำ้า..... สามบทเรียนสำาคัญจากอดีต…
ในอดีต สุโขทัย…เวียงกุมกาม…และอยุธยา
ก่อนมาเป็นประเทศไทยในปัจจุบัน มีเหตุการณ์มากมายเกี่ยวกับการตั้งถิ่นฐานและการ
หนึ่งในความสามารถที่ดีที่สุดของชาวไท
(กลุ่มชนชาติเก่าแก่ที่มีอารยธรรมของ เกิดของอาณาจักรต่าง ๆ เรื่องราวประวัติศาสตร์การตั้งถิ่นฐานส่วนใหญ่เกี่ยวพันกับน�้า
ตนเองมาช้านาน) ในการด�ารงวิถีชีวิตได้แก่ ภูมิปัญญาการจัดการน�้า และการขับเคลื่อนด้วยน�้า (hydraulic management) บทเรียน
ความสามารถในการพัฒนาและปรับสภาพ ต่อไปนี้เป็นเรื่องราวการตั้งถิ่นฐานของเมืองส�าคัญ 3 เมืองในอดีตที่มีหลักฐานภูมิปัญญา
รอบบ้านเรือนให้สามารถอยู่กับ “น�้า” ได้ อันโดดเด่น
เช่น สร้างบ้านเรือนอยู่บนเสาสูงที่เรียกว่า
ยกใต้ถุนสูง หรือสร้างบ้านเรือนแพให้
สามารถลอยอยู่ในน�้าได้ ประเด็นหลักของ
การปรับตัวนี้คือ “ไม่ต่อต้านน�้า” (not against
water) [*1] บ้านเรือนพื้นถิ่นที่สร้างบนเสา
ยกเรือนสูงหรือบนแพในอดีตมีหลักฐาน
ชัดเจนจากภาพถ่าย เช่นที่ บางลี่ จังหวัด
สุพรรณบุรี หรือท่าขนอน จังหวัดสุราษฏร์ธานี
(รูปที่ 3) รูปแบบของสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น
เหล่านี้ สะท้อนให้เห็นถึงความสามารถ
ของคนไทยในการอยู่กับธรรมชาติ ซึ่งถูก
พัฒนาผ่านกาลเวลามานานและกลายเป็น
ส่วนหนึ่งของวิถีวัฒนธรรมท้องถิ่น ทุกวันนี้
วิถีชีวิตเหล่านี้เริ่มจะเลือนหายไป ผู้คน
ในปัจจุบันถูกปรับเข้าสู่วิถีชีวิตของคนเมือง รูปที่ 3 ภาพถ่ายเปรียบเทียบฤดูแล้งกับฤดูน�้าหลาก ณ ชุมชนบางลี่ จังหวัดสุพรรณบุรี และชุมชน
สมัยใหม่ ซึ่งเห็นตัวอย่างการเปลี่ยนแปลง เรือนแพท่าขนอม จังหวัดสุราษฎร์ธานี
ชัดเจนจากกรณี บางลี่ สุพรรณบุรี (รูปที่ 4)
รูปที่ 4 ชุมชนบางลี่
จังหวัดสุพรรณบุรี ในปัจจุบัน
72
วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2564