Page 74 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2564
P. 74

บทเรียนการบริหารจัดการน�้าของเมืองหลักบนลุ่มแม่น�้าเจ้าพระยาในประวัติศาสตร์ไทย


            อาจกล่าวได้ว่าการวางแผนตั้งเมืองสุโขทัยโบราณเป็นต้นแบบ  เปรียบเทียบลักษณะภูมิประเทศของทั้งสามเมืองบ่งชี้ว่า เมืองสุโขทัย
          ของการเลือกสถานที่ตั้งเมืองเชียงใหม่ในเวลาต่อมา จากหลักฐาน  ตั้งอยู่ระดับต�่าสุดเมื่อเปรียบเทียบกับอีกสองเมือง (รูปที่ 6) จึงเป็น
          บันทึกทางประวัติศาสตร์อ้างอิงถึงอ่างเก็บน�้าและระบบชลประทาน  ไปได้ว่าการผันน�้าจากแม่น�้าปิงทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ และแม่น�้า
          ของเมืองทั้งสอง (สุโขทัยมีอ่างเก็บน�้าบนเนินเขา-สรีดภงส์ ควบคุม  ยมทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ผ่านท่อและคลองโดยมีบารายยก

          น�้าลงมาหล่อเลี้ยงคูเมือง เชียงใหม่มีอ่างเก็บน�้าห้วยแก้ว และอ่าง  ระดับน�้าให้สูงขึ้นบริเวณกึ่งทางล�าเลียงเพื่อเพิ่มระดับน�้าและพลังงาน
          เก็บน�้าโบราณในบริเวณมหาวิทยาลัยเชียงใหม่น�าน�้ามาหล่อเลี้ยง   การไหลด้วย back water curve และ energy grade line ท�าให้
          คูเวียงเชียงใหม่ด้านเชิงดอยสุเทพ) นอกจากระบบชลประทานท้องถิ่น   น�้าสามารถไหลไปถึงสุโขทัยรวมทั้งระบายน�้าจากเมืองสุโขทัยผ่าน
          ของเมืองแล้ว สุโขทัยยังล�าเลียงน�้าจากก�าแพงเพชรในลุ่มน�้าปิง   บารายทิศเหนือที่สร้างติดกับวัดพระรายหลวงสู่คลองแม่ร�าพันลง
          ทางด้านตะวันตกเฉียงใต้ และศรีสัชนาลัยในลุ่มแม่น�้ายมจากทางทิศ   ไปยังแม่น�้ายมบริเวณที่อยู่ต�่าลงไป ซึ่งเทคนิคการจัดการน�้าโดยใช้
          ตะวันออกเฉียงเหนือ เข้ามาจ่ายน�้าให้กับคูเมืองผ่านคลองล�าเลียงน�้า  พลังงานจากความต่างระดับของน�้าแบบโบราณนี้ เป็นภูมิปัญญา

          ด้วยพลังงานจากความต่างระดับ (Energy grade line) ที่ปัจจุบัน  ที่ใช้ในอารยธรรมโบราณอื่นๆในโลกเหมือนกัน เช่น ท่อน�้าและบ่อแห่ง
          เรียกกันว่าแนวถนนพระร่วงซึ่งแท้จริงแล้วคือคูน�้าชลประทานและ  เมืองมาราเกช หรือ “qanat” ของจักรวรรดิอาราบิคแห่งโมรอคโค
          อาคารเก็บน�้าโบราณนั่นเอง [*7] จากการวิเคราะห์โดยใช้เทคนิค  และ “aqueducts” ของจักรวรรดิโรมันโบราณ โดยแต่ละแห่งก็มีวิธี
          ระบบการส�ารวจระยะไกล (remote sensing system technique)   การและการก่อสร้างที่มีลักษณะเฉพาะตัวไม่เหมือนกัน [*4]




                                   บทเรียนที่ได้จากการตั้งถิ่นฐานในกรณีนี้
                                   คือ จะเป็นการปลอดภัยกว่าหากสามารถตั้งเมืองเป็นที่มั่นอยู่บนพื้นที่สูง
                                   เพื่อป้องกันน�้าท่วมหลากและมีการจัดระบบระบายน�้าที่ดี













































                                      รูปที่ 6 ภูมิประเทศและภาพร่างแสดงที่ตั้งของเมืองมรดกโลกทั้งสาม


           74
                  วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2564
   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79