Page 65 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2564
P. 65

สรุปความ ปาฐกถาพิเศษ อนาคตโครงข่ายคมนาคมของประเทศไทย


              (2) โครงการ Landbridge เพื่อพัฒนาท่าเรือขนส่งสินค้าชายฝั่งทะเลอันดามัน    ในส่วนของการเชื่อมต่อทางอากาศนั้นมี
            เชื่อมต่อกับฝั่งอ่าวไทย เพื่อให้ประเทศไทยเป็นเส้นทางลัดของเส้นทางเดินเรือระหว่าง  3 โครงการ ประกอบด้วย
            มหาสมุทรอินเดียและแปซิฟิก โดยเชื่อมโยง 2 ท่าเรือ ได้แก่ท่าเรือระนองแห่งใหม่ และท่าเรือ    (1) โครงการพัฒนาสนามบินอู่ตะเภา
            ชุมพร ให้เป็นท่าเรือทันสมัย (Smart Port) ที่ควบคุมด้วยระบบอัตโนมัติ ซึ่งมีการก่อสร้าง  และเมืองการบินภาคตะวันออก (U-Tapao

            ทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง รถไฟทางคู่ ขนานบนเส้นทางเดียวกัน และมีการเชื่อมต่อกับ  International Airport & Airport City)
            การขนส่งทางท่อ                                                         ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการพัฒนาระเบียง
                                                                                   เศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) โดย
                                                                                   จะมีการเปิด Gateway ในส่วนของสนามบิน
                                                                                   เพื่อรองรับนักท่องเที่ยวและรองรับเมือง
                                                                                   การบินเพื่อสนับสนุนอุตสาหกรรมการบิน

                                                                                   (Aviation Industry) ในประเทศไทย
                                                                                     (2) โครงการพัฒนาท่าอากาศยาน
                                                                                   สุวรรณภูมิ ระยะที่ 2 เพื่อขยายทางวิ่ง
                                                                                   (Runway) ที่ 3 และอาคารเทียบเครื่องบิน
                                                                                   รองหลังที่ 1 (Satellite : SAT 1)

                                                                                     (3) โครงการพัฒนาท่าอากาศยาน
                                                                                   ดอนเมือง ระยะที่ 3 เพื่อพัฒนาระบบการ
                                                                                   ให้บริการนักท่องเที่ยวและระบบการเชื่อม
                                                                                   ต่อของสนามบิน



                     4. บทส่งท้าย



                  ในช่วงเวลาที่ผ่านมาประเทศไทยเป็นประเทศที่มีการเติบโตของผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศ (Gross Domestic Product:
                GDP) อย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2503 (ช่วง Thailand 2.0) จนถึงปี พ.ศ. 2563 (ช่วง Thailand 3.0 และโครงการ
                Eastern Seaboard) ซึ่งมีมูลค่า 2.76 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ และ 501.80 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ตามล�าดับ โดยมีค่าผลิตภัณฑ์

                มวลรวมของประเทศ (GDP) สูงสุดที่ 544.26 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (พ.ศ. 2562) อย่างไรก็ตาม ท่ามกลางวิกฤตการณ์
                การเปลี่ยนแปลง  และผลกระทบจากสถานการณ์ความไม่แน่นอนของโลก  อาทิ  วิกฤติต้มย�ากุ้ง  และวิกฤติโควิด-19
                ส่งผลให้การเติบโตของผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศ เกิดการชะลอตัวลง ดังนั้น การวางกรอบการพัฒนาอนาคตของ
                ประเทศไทยในด้านการคมนาคม ของกระทรวงฯ ข้างต้นจะเป็นส่วนส�าคัญอย่างยิ่งในการยกระดับศักยภาพการแข่งขันของ
                ประเทศไทยในอนาคต























                                                                                                              65
                                                                             วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2564
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70