Page 82 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2564
P. 82

บทเรียนการบริหารจัดการน�้าของเมืองหลักบนลุ่มแม่น�้าเจ้าพระยาในประวัติศาสตร์ไทย



          สภาพภูมิอากาศโลกเปลี่ยนแปลง และอุทกภัย [*10]



            เป็นที่ยอมรับในระดับสากลแล้วว่าปรากฏการณ์สภาวะการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ  เสียหายถึงความล้มเหลวของพนังกั้นน�้าใน

          โลกในรอบหลายปีที่ผ่านมาได้ส่งผลกระทบเป็นมหาอุทกภัยทั่วโลกทั้งในทวีป ยุโรป อเมริกา  นิวออร์ลีนถูกเปิดเผยโดยพายุเฮอริเคนแคท
          ออสเตรเลียและเอเชีย โดยเฉพาะในปี พ.ศ. 2564 นี้ (รวมถึงในประเทศไทยเมื่อปี พ.ศ.  เธอรีน่าว่ามีความสัมพันธ์กับรอยแตกที่เกิด
          2554) ข้อมูลส�ารวจวิจัยได้ระบุว่า น�้าแข็งขั้วโลกเหนือละลายมากขึ้นจนสามารถตรวจพบรอย  จากการทรุดตัวของพนังกั้นน�้าที่เสริมให้สูงขึ้น
          แยกชัดเจน (รูปที่ 15) และประเมินได้ว่าจะส่งผลให้ระดับน�้าทะเลบริเวณซีกโลกเหนือสูงขึ้น  และสร้างความเสียหายขนาดใหญ่ตามมา
          ประมาณ 1.50 เมตร ในปี ค.ศ. 2100 รวมทั้งการเพิ่มขึ้นอย่างชัดเจนของ อุทกภัย ความเร็ว  (ความสูงของพนังกั้นน�้าสัมพันธ์กับแรงดันน�้า
          รอบศูนย์กลาง ขนาด และความถี่ของพายุหมุน และความเข้มของปริมาณน�้าฝน (rainfall   และความเร็วการไหลของน�้า) [*5]

          intensity) ในพื้นที่ อันเป็นสาเหตุส�าคัญของการเกิดอุทกภัยและน�้าท่วมขังในพื้นที่เมือง     มีข้อพิสูจน์จากหลายประเทศที่ได้เรียนรู้
          ที่ยังคงใช้ระบบระบายขนาดเล็กแบบเดิม ซึ่งการเปลี่ยนแปลงของข้อมูลสภาพภูมิอากาศ  ประสบการณ์จากเหตุการณ์คล้าย ๆ กัน
          และอุทกวิทยาเหล่านี้จะส่งผลกระทบทางลบต่อพื้นที่ลุ่มต�่าเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ ค�าถามคือ   ในรอบ 100 ปี ที่ผ่านมาว่า ยิ่งพยายามกั้น
          ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงเหล่านี้จะส่งผลต่อประเทศไทย อีกยาวนานแค่ไหน?  อุทกภัยมากขึ้นเท่าไหร่ก็จะได้รับผลกระทบ

            ดังนั้นค�าแนะน�าส�าหรับการป้องกันอุทกภัยแบบที่รัฐก�าลังด�าเนินอยู่โดยเฉพาะพื้นที่  ที่เกิดจากอุทกภัยมากขึ้นเท่านั้น ในปัจจุบัน
          ริมแม่น�้าล�าคลอง คือ หากเลือกใช้พนังป้องกันน�้าท่วม จ�าเป็นต้องศึกษาออกแบบทางวิศวกรรม  รัฐบาลของหลายประเทศ เช่น สหรัฐ ญี่ปุ่น
          โดยค�านึงถึงผลกระทบทั้งระดับน�้าในล�าน�้าและลักษณะการไหลต่อเนื่องในทุกทิศทาง  เกาหลีใต้ และจีน จึงได้ประกาศแผนที่แสดง
          ทั้งต้นน�้าและปลายน�้า โดยเฉพาะพื้นที่ตลอดริมฝั่งทั้งสองข้างล�าน�้าที่ได้รับผลกระทบ   เขตน�้าท่วม (Inundation area) ในพื้นที่
          ดังเช่นตัวอย่างที่เกิดขึ้นในลุ่มแม่น�้ามิสซีสซิปปี ในปี พ.ศ. 2550 ตามระบุในรายงานความ  ลุ่มต�่าน�้าท่วมถึงบริเวณริมแม่น�้าสายหลัก

                                                                                และแผนลดความเสี่ยงจากอุทกภัย แผน
                                                                                อพยพ รวมทั้งการประกันภัยให้อาคาร
                                                                                บ้านเรือนที่อยู่ในเขตน�้าท่วมถึงโดยไม่มี
                                                                                โครงการก่อสร้างพนังกั้นน�้าริมตลิ่งตลอดล�าน�้า
                                                                                อีกต่อไป เพื่อแก้ปัญหาและลดผลกระทบ

                                                                                ในระยะยาว หากพิจารณาให้ชัดเจนจะพบว่า
                                                                                เหตุการณ์มหาอุทกภัยที่เกิดทั่วโลกในขณะนี้
                                                                                ก็เหมือนเช่นที่เกิดขึ้นในพื้นที่สามเหลี่ยม
                                                                                สันดอนแม่น�้าเจ้าพระยา ในปี พ.ศ. 2554
                                                                                ไม่มากก็น้อย ใช่หรือไม่?
                                                                                  ยังมีข้อมูลงานวิจัยที่ส�าคัญและสัมพันธ์
                                                                                โดยตรงกับอุทกภัยในพื้นที่สามเหลี่ยม

                                                                                สันดอนปากแม่น�้าทั้งในทวีปยุโรปและเอเชีย
                                                                                [*12] คือ ธรรมชาติการทรุดตัวของแผ่นดิน
                                                                                บริเวณสามเหลี่ยมสันดอนปากแม่น�้า (delta
                                                                                area land subsidence) ที่เกิดร่วมกับการใช้
                                                                                น�้าจากแหล่งน�้าใต้ดิน (ground water aquifer)

                                                                                อย่างต่อเนื่อง และอุตสาหกรรมการดูดทราย
                                                                                แม่น�้า ได้ส่งผลกระทบโดยตรงกับแผ่นดิน
          รูปที่ 15 ข้อมูลดาวเทียมจากองค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติสหรัฐอเมริกาแสดงการตรวจ  ทรุดตัว การหดตัวของพื้นที่ รวมทั้งการ
             พบรอยแยกจากการละลายของน�้าแข็งบริเวณพื้นที่ปกคลุมด้วยน�้าแข็งขั้วโลกเหนือ ชัดเจน  รุกคืบของลิ่มน�้าทะเลในล�าน�้า (sinking,


           82
                  วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2564
   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87