Page 77 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2564
P. 77

บทเรียนการบริหารจัดการน�้าของเมืองหลักบนลุ่มแม่น�้าเจ้าพระยาในประวัติศาสตร์ไทย


                                            ยุทธศาสตร์แล้วที่ตั้งเมืองอยุธยาที่ล้อมรอบ
                                            ด้วยน�้านี้ได้กลายเป็นป้อมปราการที่มั่นคง
                                            ป้องกันตนเองจากการรุกรานของข้าศึกศัตรู
                                            โดยการใช้ระบบคูคลองในเมือง และฤดูน�้าหลาก

                                            เป็นกลยุทธ์ทางสงครามที่ท้าทายและสามารถ
                                            ป้องกันอยุธยาได้ต่อเนื่องมามากกว่าศตวรรษ
                                            ที่เรียกว่า “กลยุทธ์น�้าหลาก” (flooding tactic)
                                            เรื่องดังกล่าวอ้างอิงจากการบันทึกในพงศาวดารว่า
                                            ในฤดูน�้าหลาก พื้นที่ลุ่มล้อมรอบด้วยน�้าสุดลูกหูลูกตา
                                            ทัพพม่าที่ล้อมรอบอยู่นอกเมืองไม่สามารถทน

                                            อยู่ในน�้าได้นานต้องยกทัพกลับไปหลายครั้ง
                                            ทราบไหมว่าระดับน�้าสูงสุดในช่วงน�้าหลากในพื้นที่
                                            อยุธยาในอดีตสูงแค่ไหน? จากภาพถ่ายเก่า
                                            จะเห็นต้นข้าวสายพันธุ์อยุธยามีความสูงไม่ต�่า
                                            กว่า 3-4 เมตร ในช่วงฤดูน�้าหลาก (รูปที่ 10) อันเป็น

                                            หลักฐานเชิงประจักษ์ของ “กลยุทธ์น�้าหลาก”    รูปที่ 10 ภาพถ่ายต้นข้าวพื้นเมืองในอยุธยาช่วง
                                                                                   ฤดูน�้าหลาก (กิตติ โลห์เพชรรัตน์ 2011)



                                            บทเรียนจากกรณีเมืองอยุธยานี้
                                                      คือวิถีชีวิตที่ไม่ต่อต้านนำ้า หรือวิถีตามนำ้า



                                              ในส�านวนไทยโบราณ กล่าวคือหลังจากอยุธยากลายเป็นเมืองท่าค้าขายระหว่างนครรัฐบนบก
                                            และนครรัฐข้ามทะเลมาระยะหนึ่ง ด้วยการขุดคลองลัดลดระยะทางการไหล ระบายน�้าลงสู่ปลายน�้า

                                            ของแม่น�้าลพบุรีสายเก่า และควบคุมระดับน�้าในช่วงฤดูน�้าหลากไม่ให้ล้นตลิ่งเข้าท่วมเมืองอย่างได้ผล
                                            ท�าให้เวลาต่อมาจึงมีการขุดคลองเพิ่มขึ้นในบริเวณเกาะเมืองเพื่อใช้เป็นเส้นทางสัญจรทางน�้า


































                                                                                                              77
                                                                             วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2564
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82