Page 80 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2564
P. 80

บทเรียนการบริหารจัดการน�้าของเมืองหลักบนลุ่มแม่น�้าเจ้าพระยาในประวัติศาสตร์ไทย


          ไปจากบางกอกอย่างถาวร บริเวณริมฝั่งแม่น�้าและล�าคลองต่าง ๆ   เฉพาะอย่างยิ่งการน�าถุงทรายขนาดใหญ่ (big bag) มาใช้เป็นคัน
          ถูกแทนที่ด้วยพนังกั้นน�้าคอนกรีต (รูปที่ 13) ซึ่งมาถึงวันนี้พิสูจน์  กั้นน�้าโดยไม่ค�านึงถึงความรู้ด้านกลศาสตร์ของไหลและชลศาสตร์
          แล้วว่าไม่สามารถป้องกันน�้าท่วมได้ เนื่องจากเมืองหลวงปัจจุบัน  พื้นฐาน (back water curve & energy grade line) ล้วนเพิ่มพลัง
          ตั้งอยู่ในที่ราบลุ่มน�้าท่วมถึง (flood plain) โอกาสการเกิดน�้าท่วม  การท�าลายระบบระบายน�้าทั้งบนดินและใต้ดินให้เสียสมดุลเร็วขึ้น

          หลากสามารถเป็นไปได้ทุกทิศทาง ขณะเดียวกันระบบระบายน�้า  (failure) สิ่งเหล่านี้ถูกเลือกมาใช้บริหารจัดการน�้าท่วมแทนคูคลอง
          แบบเปิด (Open drain) ของคูคลองเดิมที่เปรียบเสมือนเส้นเลือด  ระบบเปิด (open drain) แบบดั้งเดิม โดยไม่มีการศึกษาพัฒนา
          ฝอยเพื่อการระบายน�้าตามธรรมชาติเกือบทั้งหมดในกรุงเทพฯ   ด้วยการออกแบบทางวิศวกรรมด้านการระบายน�้าอย่างเป็นระบบ
          ได้ถูกถมเป็นถนนที่มีท่อระบายน�้าขนาดมาตรฐานเส้นผ่าศูนย์กลาง  ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงลักษณะการตกของฝนในพื้นที่
          เพียง 1 เมตร (non-return period design) และการพัฒนาขยาย  เศรษฐกิจส�าคัญของประเทศ เหล่านี้ล้วนสะสมจนกลายเป็น
          เมืองยังคงด�าเนินต่อไปโดยคูคลองที่เหลือมีประตูน�้าปิดกั้นและ  สาเหตุส�าคัญของการท่วมขังของน�้าฝนในทุกพื้นที่ของเมืองหลวง

          ไม่ได้ใช้ช่วยระบายน�้าในช่วงฤดูน�้าหลากอีกเลย กล่าวคือ เมื่อเมืองน�้า  บนเกาะรัตนโกสินทร์ และเมืองใหญ่ทั่วประเทศ ซึ่งเกิดขึ้นทุกครั้ง
          หรือแนวทาง “อยู่กับน�้า” แบบภูมิปัญญาในอดีตกลายเป็นเมืองบก  ที่ฝนตกตลอดหลายปีที่ผ่านมา
          แบบปัจจุบันที่ซับซ้อนขึ้นด้วยการใช้ ท่อระบายขนาดเล็ก เครื่องสูบน�้า    กรณีศึกษาอีกกรณีหนึ่งคือโครงการพระราชด�าริฯ รัชกาลที่ 9
          พนังกั้นน�้า ประตูน�้า และอุโมงค์ ซึ่งล้วนแต่ต้องดูแลบ�ารุงรักษา  คลองลัดโพธิ์พร้อมประตูควบคุมน�้า ที่ใช้ช่วยระบายน�้าในช่วง
          อย่างสม�่าเสมอเพื่อยังคงประสิทธิภาพในการใช้งานได้สมบูรณ์ โดย  คดเคี้ยวของแม่น�้าเจ้าพระยาให้ไหลลงสู่อ่าวไทยรวดเร็วขึ้น

















































           รูปที่ 13 แผนด�าเนินการตามรูปตัดขวางล�าน�้าที่มีพนังกั้นน�้าริมสองฝั่งแม่น�้าเจ้าพระยา และภาพขณะด�าเนินการก่อสร้างฝั่งกรุงเทพฯ (Bangkok Post)






           80
                  วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2564
   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85