Page 87 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2564
P. 87
โดย ประสงค์ ธาราไชย อดีตนายก วสท.
สาระส�าคัญ
ของพระราชบัญญัติวิศวกร พ.ศ. ๒๕๔๒
พระราชบัญญัติ
ค�าถามพื้นฐานที่ถามกันบ่อย คือ “วิชาชีพวิศวกรรม” และ “วิชาชีพ วิศวกร
วิศวกรรมควบคุม” คืออะไร พ.ศ. ๒๕๔๒
-------------------------
ค�าตอบอยู่ในมาตรา ๔ ของ พระราชบัญญัติวิศวกร พ.ศ. ๒๕๔๒ ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.
คือ วิชำชีพวิศวกรรม หมายความว่า วิชาชีพวิศวกรรมในสาขาวิศวกรรม ใหไว ณ วันที่ ๑๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๒
โยธา วิศวกรรมเหมืองแร่ วิศวกรรมเครื่องกล วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรม เปนปที่ ๕๔ ในรัชกาลปจจุบัน
อุตสาหการ และวิศวกรรมอื่น ๆ ที่ก�าหนดในกฎกระทรวง ใหประกาศวา
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ
วิชำชีพวิศวกรรมควบคุม หมายความว่า วิชาชีพวิศวกรรมที่ก�าหนด โดยที่เปนการสมควรปรับปรุงกฎหมายวาดวยวิชาชีพวิศวกรรม
ในกฎกระทรวง ซึ่งปัจจุบัน (ธ.ค. ๒๕๖๔) มีกฎกระทรวง ก�าหนดวิชาชีพ พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของ
วิศวกรรม และวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมอยู่สองฉบับ คือ บุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๙ และมาตรา ๕๐ ของรัฐธรรมนูญแหงราช
กฎกระทรวง พ.ศ. ๒๕๕๐ อาณาจักรไทย บัญญัติใหกระทําไดโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย
ก�าหนดเพิ่มเติมในข้อ ๑ ให้วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม และวิศวกรรมเคมี ของรัฐสภา ดังตอไปนี้
จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดยคําแนะนําและยินยอม
มาตรา ๑
เป็นวิชาชีพวิศวกรรม พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติวิศวกร พ.ศ ๒๕๔๒”
ราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป
มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศใน
และก�าหนดใน ข้อ ๒ ให้วิชาชีพวิศวกรรมสาขาต่อไปนี้ เป็นวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม คือ
มาตรา ๓ ใหยกเลิก
(๑) วิศวกรรมโยธา (๔) วิศวกรรมไฟฟ้า ( ( ๑) พระราชบัญญัติวิชาชีพวิศวกรรม พ.ศ. ๒๕๐๕
(๗) วิศวกรรมเคมี
๒)
(๒) วิศวกรรมเหมืองแร่ (๕) วิศวกรรมอุตสาหการ ( ๓) พระราชบัญญัติวิชาชีพวิศวกรรม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๑๒
(๓) วิศวกรรมเครื่องกล (๖) วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม พระราชบัญญัติวิชาชีพวิศวกรรม (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๒๐
มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้
“
ต่อมา พ.ศ. ๒๕๖๐ ได้มีกฎกระทรวงก�าหนดวิชาชีพวิศวกรรม และวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม (ฉบับที่ ๒) ให้ยกเลิกความในข้อ ๑
แห่งกฎกระทรวงก�าหนดวิชาชีพวิศวกรรม และวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม พ.ศ. ๒๕๕๐ และให้ใช้ข้อความต่อไปนี้แทน
วิชาชีพวิศวกรรม” หมายความวา วิชาชีพวิศวกรรมในสาขาวิศวกรรมโยธา
วิศวกรรมเหมืองแร วิศวกรรมเครื่องกล วิศวกรรมไฟฟา วิศวกรรมอุตสาหการ และ สาขา
วิศวกรรมอื่น ๆ ที่กําหนดในกฎกระทรวง
ข้อ ๑ ให้สาขาอื่นต่อไปนี้ เป็นวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม
(๑) วิศวกรรมเกษตร (๘) วิศวกรรมป้องกันอัคคีภัย (๑๕) วิศวกรรมส�ารวจ
(๒) วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ (๙) วิศวกรรมปิโตรเลียม (๑๖) วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม
(๓) วิศวกรรมเคมี (๑๐) วิศวกรรมพลังงาน (๑๗) วิศวกรรมแหล่งน�้า
(๔) วิศวกรรมชายฝั่ง (๑๑) วิศวกรรมเมคคาทรอนิกส์ (๑๘) วิศวกรรมอากาศยาน
(๕) วิศวกรรมชีวการแพทย์ (๑๒) วิศวกรรมยานยนต์ (๑๙) วิศวกรรมอาหาร
(๖) วิศวกรรมต่อเรือ (๑๓) วิศวกรรมระบบราง
(๗) วิศวกรรมบ�ารุงรักษาอาคาร (๑๔) วิศวกรรมสารสนเทศ
เมื่ออ่านรวมกฎกระทรวงสองฉบับ และ “วิชาชีพวิศวกรรม” ที่ก�าหนดในพระราชบัญญัติวิศวกร ๕ สาขาแล้ว จึงมีงานวิศวกรรม
รวม ๒๔ สาขา
ส่วนรายละเอียด คือ ควบคุมเฉพาะ งานประเภท และขนาดที่ก�าหนดในกฎกระทรวงปี ๒๕๕๐ และมีข้อบังคับว่าด้วยหลักเกณฑ์ และ
คุณสมบัติของผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมแต่ละระดับ แต่ละสาขาครับ อ่านเพิ่มเติมได้จากเว็บไซต์สภาวิศวกร www.coe.or.th ครับ
87
วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2564