Page 83 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2564
P. 83

บทเรียนการบริหารจัดการน�้าของเมืองหลักบนลุ่มแม่น�้าเจ้าพระยาในประวัติศาสตร์ไทย









            shrinking, saltier delta) ซึ่งส่งผลกระทบ  เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลกที่รุนแรงมากขึ้นเป็นอัตราเร่ง (51 world regions: CID)
            ในอัตราส่วนที่ชัดเจนกว่าการเพิ่มสูงขึ้นของ  และอะไรคือแผนบริหารจัดการเพื่อบรรเทา และป้องกันในอนาคต ทั้งในระดับท้องถิ่น ภาค
            ระดับน�้าทะเล (relative sea level rise) จึงควร  และประเทศ ท่ามกลางสภาวการณ์แพร่ระบาดของโควิด-19 ที่ยังคงอยู่กับเราในปัจจุบันนี้
            ระลึกเสมอว่า ในบริเวณสามเหลี่ยมสันดอน
            ปากแม่น�้า (รูปที่ 1) การน�าน�้าใต้ดินขึ้นมาใช้   บางที…ค�าตอบอาจจะ..ลอยหายไปกับสายลม.........
            จะมีผลตามมาด้วยแผ่นดินยุบตัวและลิ่มน�้า

            ทะเลรุกล�้าในล�าน�้าเสมอ และประเทศไทยก็
            ร่วมเป็นหนึ่งในประจักษ์พยานนี้เช่นกัน
              ขณะที่ทั่วโลกน�าโดยองค์กรสหประชาชาติ
            (The United Nations) ได้มองเห็นถึงภัยพิบัติ

            ระดับโลกโดยมีภัยด้านน�้าถึงสามหัวข้อหลัก
            และได้ร่วมลงสัตยาบันในโครงการ SDGs
            (Sustainable Developments Goals)
            มาเป็นเวลากว่า 6 ปีแล้ว แต่รัฐบาลของ
            ประเทศไทยปัจจุบัน ยังไม่ตระหนักถึง
            ความส�าคัญของการลงทุนเรื่องระบบบริหาร

            จัดการน�้าโดยเฉพาะด้านบรรเทาอุทกภัย
            ให้เหมาะสมและสมบูรณ์ ดังตัวอย่างโครงการ
            พนังป้องกันน�้าท่วมสูงสามเมตรระยะทาง
            ตลอดริมฝั่งแม่น�้าเจ้าพระยาโดยกรมโยธาธิการ
            และผังเมือง  และโครงการสันทนาการ

            (ทางจักรยาน ทางวิ่ง ทางเดิน) ตลอดแนว
            ล�าน�้าเจ้าพระยาในเขตกรุงเทพมหานครฯ
            พร้อมพนังกั้นน�้าด้านหลังทางจักรยาน
            ระยะทาง 14 กิโลเมตร (รูปที่ 16) ซึ่ง
            ลักษณะของโครงสร้างเดี่ยวเฉพาะริมสองฝั่ง
            ล�าน�้าเจ้าพระยาเช่นนี้จะส่งผลกระทบต่อ
            การบริหารจัดการระดับน�้า ปริมาตร/ความจุ

            แรงดันน�้าทุกทิศทาง ตลอดช่วงโครงการ
            ในล�าน�้าเจ้าพระยาและพื้นที่ต่อเนื่อง รวมถึง
            ภูมิทัศน์ วิถีชีวิต และธุรกิจริมน�้าของประชาชน
              ท้ายที่สุดนี้คือค�าถามว่า เราได้เรียนรู้
            บทเรียนใดจากอุทกภัยและมหาอุทกภัยที่

            ผ่านมาเพื่อเลือกมาใช้เป็นแนวทางในการ
            บรรเทาปัญหาปัจจุบันบ้าง? เราพร้อมหรือ
            ยังที่จะรับมือกับผลกระทบของอุทกภัย   รูปที่ 16 โครงการพัฒนาริมฝั่งแม่น�้าเจ้าพระยาระยะที่ 1 ระยะทาง 14 กม. ที่ศาลปกครองสูงสุด
            จากการกระท�าของเราเองโดยมีสภาวะการ           มีค�าสั่งห้าม กทม. ด�าเนินการ (มติชน 1 เม.ย. 2564\ 9620000116886)


                                                                                                              83
                                                                             วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2564
   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88