Page 88 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2564
P. 88
ินิก
ัมน Engineering Clinic
สมจิตร์ เปี่ยมเปรมสุข ประธานคณะกรรมการคลินิกช่าง วสท.
ต่อเติมแล้วทรุด
ต้องท�าอย่างไร
คำาถามหนักใจสำาหรับ
วิศวกรอาสาที่ท่านเจ้าของ
บ้ านมา ขอคำา แน ะนำา ใน ต้นเหตุของปัญหาเกิดจากการใช้เสาเข็มสั้นต่อเติมมาชิดอาคารเดิม
กิจกรรมคลินิกช่างคือ ที่ใช้เสาเข็มยาว ประกอบกับปัญหาเป็นพื้นดินอ่อน และมีการถมดินสูง
ต่อเติมครัวแล้ว เกิดปัญหา ขณะท�าการต่อเติม ปัญหาการทรุดตัวนั้น จะมากหรือน้อยขึ้นกับ
ทรุดตัวต้องทำาอย่างไร ปัจจัยหลายประการ ดังนี้
บ้าง คำาถามนี้เป็นคำาถาม 1. สภาพดินเดิมของพื้นที่ก่อสร้างนั้นมีสภาพการใช้พื้นที่
ยอดฮิต ซึ่งถูกถามทุกครั้ง เป็นอย่างไร และมีการถมดินก่อนการก่อสร้างมากหรือไม่
ที่เปิดให้คำาแนะนำาทุกเสาร์ การถมดินสูงย่อมมีปัญหาการทรุดตัวมากตามไปด้วย
สิ้นเดือนมาต่อเนื่องเป็น 2. ขนาดความยาวและวิธีการตอกเสาเข็ม เสาเข็มยิ่งสั้น
สิบปี และคาดว่ายังคงมี ยิ่งทรุดตัวมากและหากมีการเจาะน�าในดิน เพื่อให้ตอกเสาเข็มง่าย
อย่างต่อเนื่องไปอีกนาน แรงเสียดทานโดยรอบเสาเข็มจะน้อย เสาเข็มจะรับน�้าหนักได้น้อย
เนื่องจากงานต่อเติมนั้น ตามไปและทรุดตัวค่อนข้างมาก
มักจะใช้ช่างที่ไม่ใช่วิศวกร 3. น�้าหนักของโครงสร้างส่วนต่อเติมยิ่งมากยิ่งทรุดตัว ดังนั้น
ประกอบกับการหาช่างมา การลดน�้าหนักของโครงสร้างเปลี่ยนมาใช้โครงสร้างเหล็กหรือ
รับงานในปัจจุบันหาได้ยาก
เป็นอย่างยิ่ง สั่งให้ทำาตาม ไม้ซึ่งเบากว่าจะลดการทรุดตัวได้
ที่เจ้าของบ้านต้องการก็จะ ปัจจัยดังกล่าวท�าให้ส่วนต่อเติมนั้นทรุดตัว ดังนั้น เมื่อต่อเติม
พาลไม่รับงานอีก ต้องทำาตาม ไปแล้วสิ่งแรกที่ควรท�าคือ ท�าใจ และตั้งสติให้ดีอย่ากังวลมากนัก
ที่ช่างอยากทำาเท่านั้น ปัญหา เนื่องจากการทรุดตัวนั้นจะค่อย ๆ ทรุด โดยจะทรุดตัวในช่วงต้นมาก
ดังกล่าวจึงเกิดขึ้นไม่รู้จบ และมักจะช้าลงในล�าดับต่อไป ดังนั้น ส�าหรับท่านเจ้าของบ้านที่ท�าการ
ซึ่งทำาให้เกิดความเสียหาย ต่อเติมด้วยเสาเข็มสั้นทั้งที่เกิดปัญหาแล้วหรือยังไม่เกิดปัญหา แนะน�า
ต่อเจ้าของบ้านเป็นอย่างมาก ให้ตรวจสอบส่วนต่อเติม ดังนี้
88
วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2564