Page 91 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2564
P. 91

“จากบางระกำาโมเดล สู่การจัดการนำ้าแล้ง-นำ้าท่วมแบบครบวงจร”


                                การจัดการน�้าแบบครบวงจรในพื้นที่บางระก�าโมเดล จึงนับ  เป็นพื้นที่น�้าท่วมขังเป็นระยะเวลาประมาณ
                              เป็นหนึ่งในทางออกส�าคัญส�าหรับการแก้ปัญหาน�้าแล้ง-น�้าท่วมใน  3-4 เดือน ท�าให้มีปริมาณน�้าที่เพียงพอและ
                              ปัจจุบัน โดยอาศัยหลักการการจัดการร่วมระหว่างน�้าใต้ดินและน�้า  ต่อเนื่องในการเติมลงสู่ชั้นน�้าใต้ดินระดับ
                              ผิวดินจากการน�าน�้าหลากท่วมในช่วงฤดูฝนลงไปเก็บไว้ในชั้นน�้า  ตื้น และความลึกของชั้นดินเหนียวชั้นบน

                              ใต้ดินระดับตื้น ซึ่งจะส่งผลให้น�้าใต้ดินระดับตื้นมีระดับสูงขึ้น ท�าให้  ไม่ลึกเกินไปนัก ซึ่งในพื้นที่บางระก�าโมเดล
                              มีโอกาสที่จะสูบน�้าใต้ดินระดับตื้นขึ้นมาใช้ได้ในฤดูแล้ง อีกทั้งยัง  พบความหนาของชั้นดินเหนียวชั้นบนอยู่ที่
                              สามารถช่วยบรรเทาปริมาณน�้าหลากท่วม ตลอดจนลดระยะเวลาน�้า  ประมาณ 5-20 เมตร (กรมทรัพยากรน�้า
                              ที่ท่วมขัง เมื่อพิจารณาสภาพทางอุทกวิทยาและอุทกธรณีวิทยาของ  บาดาล, 2564) ซึ่งความลึกของชั้นดินเหนียว
                              พื้นที่ โดยใช้หลักการพิจารณาที่ส�าคัญ คือ ปริมาณน�้ามีเพียงพอที่จะ  ชั้นบนที่มากเกินไปจะท�าให้การจัดท�าระบบ
                              เติมลงสู่ชั้นน�้าใต้ดินระดับตื้นได้อย่างต่อเนื่อง และความลึกของชั้น  บ่อวงเติมน�้ามีความยุ่งยากซับซ้อนและค่า

                              ดินเหนียวชั้นบนไม่ลึกเกินไปนักจนท�าให้การด�าเนินงานมีความยุ่ง  ใช้จ่ายสูง รวมถึงเสี่ยงอันตรายมากขึ้นด้วย
                              ยากซับซ้อนและค่าใช้จ่ายสูง รวมถึงข้อจ�ากัดของการจัดหาพื้นที่ที่
                              สามารถจัดท�าระบบเติมน�้า การเติมน�้าใต้ดินระดับตื้นผ่านระบบบ่อ    2.1 สภาพทางอุทกวิทยา
                              วงจึงมีความสอดคล้องและความเหมาะสม (รูปที่ 1) เนื่องจากการจัด    การผันน�้าเข้าท่วมพื้นที่น�้านองของพื้นที่
                              ท�าไม่ยุ่งยากซับซ้อนและต้องการพื้นที่ในการจัดท�าไม่มากนัก โดยที่  บางระก�าโมเดลเป็นการผันน�้าในแม่น�้ายม

                              หน่วยงานท้องถิ่นสามารถด�าเนินการจัดท�าได้ด้วยตัวเอง ตลอดจน  บริเวณประตูระบายน�้าหาดสะพานจันทร์
                              มีประสิทธิภาพการเติมน�้าและการกรองน�้าที่เพียงพอแก่การใช้งาน  ซึ่งตั้งอยู่เหนือตัวเมืองสุโขทัย โดยควบคุม
                              อย่างไรก็ตามจ�าเป็นต้องค�านึงถึงการบ�ารุงรักษาระบบบ่อวงตามวง  ปริมาณน�้าไหลผ่านประตูระบายน�้าหาด
                              รอบของการเติมน�้าเพื่อเป็นการรักษาสภาพระบบบ่อวงให้มีความ  สะพานจันทร์ให้ไม่เกิน 800 ลูกบาศก์เมตร
                              พร้อมใช้งาน                                          ต่อวินาที จากนั้นผันน�้าผ่านประตูระบายน�้า



























                                                       รูปที่ 1 รูปแบบของระบบบ่อวงเติมน�้าใต้ดินระดับตื้น


            2.   สภาพทางอุทกวิทยาและอุทกธรณีวิทยาของพื้นที่                        คลองหกบาทในปริมาณ 350 ลูกบาศก์เมตร

                บางระกำาโมเดล                                                      ต่อวินาที เพื่อเข้าสู่แม่น�้ายมสายเก่า น�้าจะ

                                                                                   ไหลผ่านเข้าระบบคลองของพื้นที่บางระก�า
              หลักการพิจารณาสภาพทางอุทกวิทยาและอุทกธรณีวิทยาที่ส�าคัญ คือ ปริมาณน�้า   โมเดล เช่น คลองหกบาท แม่น�้ายมสายเก่า
            มีเพียงพอที่จะเติมลงสู่ชั้นน�้าใต้ดินระดับตื้นได้อย่างต่อเนื่อง ซึ่งในกรณีนี้พื้นที่บางระก�าโมเดล  คลองวังแร่ คลองเกตุ คลองกล�่า คลองเมม



                                                                                                              91
                                                                             วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2564
   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96